Page 36 - Bang rak111
P. 36

29




                                 ตอมาจึงไดรวมกันสรางวัดขึ้นตามวิสัยอันดีงามเชน บรรพบุรุษชาวพุทธทั้งหลาย และให
                       ชื่อวา วัดวัวลําพอง ตามความนิยมที่ชื่อของวัดจะพองกับชื่อหมูบาน เพราะชาวบานกับวัดสวนใหญ
                       ของไทยเรามักมีชื่อเหมือนกันหรือมีความหมายเดียวกันปรัตนโกสินทรศก 109ตรงกับปพ.ศ.2433
                       พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 หรือที่ประชาชนทั่วประเทศพรอมใจกันขนาน

                       พระนามพระองคทานวา สมเด็จพระปยมหาราช ซึ่งเปนยุคทองของการพัฒนาประเทศชาติในระบบ
                       ใหม ไดทรงสรางทางรถไฟขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทย คือจากสถานีกรุงเทพมหานครขึ้นไปบริเวณ
                       นอกเมืองใกลกับคูเมืองชั้นนอกคือคลองผดุงกรุงเกษม พระราชทานนามวาสถานีหัวลําโพง ซึ่งอยูหาง
                       จากวัดวัวลําพอง ประมาณ 2 กิโลเมตรประมาณป พ.ศ. 2447ราวเดือนตุลาคมหรือเดือนพฤศจิกายน

                       ซึ่งเปนฤดูกาลทอดกฐิน จากหลักฐานและคําบอกเลานั้นวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
                       รัชกาลที่ 5 ไดเสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระกฐินในครั้งนั้น วัดหัวลําโพง ตั้งอยูเลขที่728 ถนน
                       พระรามที่ 4 แขวงสี่พระยา เขตบางรัก วันเดียวกันถึง 3วัด ตามลําดับดังนี้ คือ วัดสามจีน (วัดไตรมิตร
                       วิทยาราม) วัดตะเคียน (วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร) และวัดวัวลําพอง(วัดหัวลําโพง)ในการเสด็จพระ

                       ราชดําเนินทอดผาพระกฐินที่วัดวัวลําพองนั้นไดโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหม
                       พระราชทานนามวา วัดหัวลําโพงและทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานแตงตั้งสมณะศักดิ์
                       เจาอาวาสคือ พระอาจารยสิงห ซึ่งเปนพระวิปสสนาธุระที่มีชื่อเสียงองคหนึ่งในครั้งนั้น เปนพระครู

                       สัญญาบัตรที่พระครูญาณมุนี นับวาเปนพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนหาที่สุดมิไดนับแตนั้นมาดวยเด
                       ชานุภาพแหงพระมหากษัตริยไทย อันมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคผูทรง
                       วางรากฐานความเปนมิ่งมงคล และทรงประกอบคุณงามความดีตามหลักพรหมวิหารใหเปนที่ประจักษ
                       แกคณะสงฆและอุบาสกอุบาสิกา จึงไดรวมกันทํานุบํารุงพระบวรพุทธศาสนา สรางถาวรวัตถุใหเจริญ
                       ยิ่งขึ้น เพื่อเปนการสนองพระมหากรุณาธิคุณตอพระองคทาน

                                 วัดหัวลําโพง อันเปนนามพระราชทานเปนนามมิ่งมงคลก็ประสบความเจริญรุงเรืองมา
                       โดยตลอด บูรณปฏิสังขรณ ถาวรวัตถุเดิมเพิ่มเติมถาวรวัตถุใหมใหเปนศรีสงาแกพระศาสนาวัดหัว
                       ลําโพง มีที่ดินประมาณ 20 ไร ซึ่งในระยะแรกมีเนื้อที่ประมาณ 7 ไร ตอมานายทวม พุมแกว ซึ่งมีที่ดิน

                       ติดกับเขตวัดดานถนนพระรามที่ 4 ถวายที่ดินสวนนั้นใหแกวัด ประมาณ6 ไร และนางสาวลออ หลิม
                       เซงไถ ไดถวายพินัยกรรมเปนที่ดินอีกจํานวน 7 ไร 1 งาน 88 ตารางวา (ปจจุบันเปนที่ตั้งของโรงเรียน
                       พุทธจักรวิทยา) ปจจุบันวัดหัวลําโพงมีที่ดินตั้งวัดและที่ธรณีสงฆ คือโฉนดเลขที่31734เนื้อที่ 12 ไร 2
                       งาน 88 ตารางวา โฉนดเลขที่ 2327 เนื้อที่ 7 ไร 2 งาน 88 ตารางวา โฉนดเลขที่ 1973เนื้อที่ 3 งาน

                       81 ตารางวา โฉนดเลขที่ 3419 เนื้อที่ 2 งาน 79 ตารางวา โฉนดเลขที่1972 เนื้อที่ 99 ตารางวา
                       โฉนดเลขที่ 3123 เนื้อที่ 69 ตารางวาวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2545วัดหัวลําโพงไดรับพระกรุณา
                       โปรดเกลาโปรดกระหมอมจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ยกฐานะวัดขึ้นเปนพระอารามหลวงชั้น
                       ตรีชนิดสามัญ

                                 กลาวโดยสรุปวัดหัวลําโพงความเปนมาของวัดนี้มีผูรูประมวลไว โดยอาศัยจากการเลา
                       ตอ ๆ กันมาวาในป พ.ศ. 2310  กรุงศรีอยุธยาถูกพมาทําลายเผาผลาญบานเมือง ตลอดวัดวาอาราม
                       จนในที่สุดไดเสียกรุงแกขาศึก เมื่อวันที่ 1   เมษายน 2310ซึ่งเปนการเสียกรุงครั้งสุดทายใน
                       ประวัติศาสตร การสงครามครั้งนี้ประชาชนเสียขวัญและไดรับความเดือดรอนบางพวกไมสามารถที่จะ

                       อาศัยอยูถิ่นเดิมตอไปได จึงอพยพครอบครัวลงมาทางใตตั้งถิ่นฐานที่ บริเวณวัดหัวลําโพงในปจจุบัน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41