Page 96 - Bang rak111
P. 96

89




                                 กลาวโดยสรุป  อาคารไปรษณียกลาง มีลักษณะสไตลบลูทัลลิสต(brutalist)ดานหนา
                       อาคารใหญโต เปนเหมือนกลองขนาดใหญ และรูปแกะสลักครุฑที่ดูแข็งแรงอยูดานบนอาคารอาคารมี
                       ทั้งหมด 5 ชั้น



                       เรื่องที่ 4หองสมุดเนลสัน เฮย
                               1. ประวัติหองสมุดเนลสันเฮย
                                  หองสมุดเนลสันเฮยจดทะเบียนขึ้นเปนสมาคมหองสมุด เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2412

                       โดยสมาชิกสมาคมสตรี ซึ่งสมาชิกเปนสุภาพสตรีชาวตางชาติที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร โดยนํา
                       รายไดจากการขายของ ของสมาคมสตรีนํามาจัดตั้งสมาคมหองสมุดสตรีกรุงเทพ นายกสมาคมคนแรก
                       ซึ่งเปนผูกอตั้งคือ นางซาราหบรัคลีย  แบรดลีย ซึ่งเปนภรรยาของหมอบรัดเลย  ในป พ.ศ.2454 ได

                       เปลี่ยนชื่อจากสมาคมหองสมุดสตรีกรุงเทพ เปนสมาคมหองสมุดกรุงเทพ สวนชื่อปจจุบันคือหองสมุด
                       เนลสันเฮยเปนหองสมุดเล็กๆ แตรมรื่นริมถนนสุรวงศหองสมุดแหงนี้ตั้งชื่อตามนางเจนนี่ เนลสันเฮย
                       (Mrs.Jennie Neilson Hays) ในขณะที่เธอมีชีวิตอยู มีประวัติความเปนมาที่เกาแกมาตั้งแต ป พ.ศ.
                       2411  ภรรยาของหมอบรัดเลยและหมอสมิธ ไดกอตั้ง “The  Bangkok  Ladies  Library

                       Association”สําหรับแลกเปลี่ยนหนังสือกันอานในหมูชาวตางชาติ นางเจนนี่ เนลสันเฮยภรรยาของ
                       หมอ ที เฮวารดเฮย แพทยใหญประจําการในกรมการแพทยทหารเรือไทย ก็ไดเปนผูรวมกอตั้งและ
                       เปนกรรมการดําเนินงานเกี่ยวกับหองสมุดอยูถึง 25  ป นางเจนนี่เปนคนรักการอานและดูแลหนังสือ
                       ตางๆ เปนอยางดี ภายหลังการเสียชีวิตของเธอในป พ.ศ.  2464  เพื่อเปนการรําลึกถึงความรักและ

                       ความทุมเทใหกับงานหองสมุด หมอที เฮวารด จึงไดบริจาคที่ดินบนถนนสุรวงศเพื่อตั้งเปนหองสมุด
                       Neilson Hays Library จนกระทั่งทุกวันนี้
                                 กลาวโดยสรุปหองสมุดเนลสัน เฮยเปนหองสมุดเล็กๆ แตรมรื่นริมถนนสุรวงศหองสมุด
                       แหงนี้ ตั้งชื่อตาม นางเจนนี่ เนลสันเฮย(Mrs.Jennie Neilson Hays)ประวัติความเปนมาที่เกาแกมา

                       ตั้งแตป พ.ศ.2411 ภรรยาของหมอบรัดเลยและหมอสมิธ ไดกอตั้ง “The Bangkok Ladies Library
                       Association” สําหรับแลกเปลี่ยนหนังสือกันอานในหมูชาวตางชาติภายหลังการเสียชีวิตของนางเจน
                       นี่ เนลสันเฮยใน ป พ.ศ. 2464 เพื่อเปนการรําลึกถึงความรักและความทุมเทใหกับงานหองสมุด หมอ

                       ที เฮวารด จึงไดบริจาคที่ดินบนถนนสุรวงศเพื่อตั้งเปนหองสมุด Neilson Hays Library จนกระทั่งทุก
                       วันนี้
                               2. ความสําคัญของหองสมุดเนลสัน เฮย
                                 ในระยะเริ่มแรกกอตั้ง หองสมุดเนลสัน เฮย จัดตั้งขึ้นสําหรับใหบริการแกชาวตางชาติ ที่
                       อาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร ปจจุบันไดเปดใหบริการสําหรับสมาชิกทั่วไป
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101