Page 93 - Bang rak111
P. 93
86
4. ลักษณะเดนของบานเลขที่ 1
อาคารเกาแกดั้งเดิม “บานเลขที่ 1” ซอนตัวจากความศิวิไลซของเมืองหลวงในตรอก
กัปตันบุช (ซอยเจริญกรุง 30) ติดริมฝงแมน้ําเจาพระยามานานนับศตวรรษ ลักษณะของอาคารเปน
สถาปตยกรรมแบบยุโรปยุคนีโอคลาสสิก เปนอาคารกออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปนหยา และ
ออกแบบเปนหนาจั่วตรงกลางดานหนาอาคาร ผนังทาสีเหลือง หนาตางทาสีเขียวมะกอกตัดขอบขาว
ประตูหนาตางเปนทรงโคงอยางสวยงามแบบโรมัน อาคารแสดงออกถึงความแข็งแกรงและสงางาม
ประดับมุขผนังอาคารดวยการทําลวดลายเซาะรอง อยางเดียวกับการกอหินของยุโรป พื้นชั้นลางปู
ดวยกระเบื้องสั่งจากตางประเทศ พื้นชั้นบนปูดวยไมสัก บริเวณชั้นสองเปนภาพจิตรกรรมเขียนสี
แบบสเตนซิล (Stencil) เปนลวดลายดอกไมแบบตะวันตกอยางงดงาม
ภายในบานเลขที่ 1 เปนอาคาร 2 ชั้นแตละชั้นรองรับแขกไดประมาณ 60 คน และมี
ลานจอดรถที่รองรับไดมากถึง 150 คัน สําหรับชั้น 1 ของอาคาร ประกอบดวย พื้นที่ล็อบบี้กลาง และ
หองโถงกลางสําหรับจัดเลี้ยงใหญ รวมถึงหองปกซายและขวา สวนชั้น 2 แบงพื้นที่เปน 3 หอง
เชนเดียวกับชั้นลางสวนบริเวณลานกวางดานหลังตัวอาคารสามารถรองรับแขกไดถึง 300 ที่นั่งขณะที่
สนามหญาแบงเปน 3 โซน และรองรับแขกไดถึง 500 คน นอกจากนี้ ยังมีอาคารคลังสินคาเดิมที่อยู
ติดกับรั้วบานดานขวามือ ซึ่งในอดีตผูเชาคือ มร.หลุยส ที เลียวโนเวนส บุตรชายของแหมมแอนนา
เลียวโนเวนส หรือ แหมมแอนนา ซึ่งปจจุบันเปนพื้นที่สําหรับการประกอบอาหาร ขนาดพื้นที่ 675
ตร.ม. โดยยังคงเปยมดวยเสนหของสถาปตยกรรมแบบดั้งเดิมที่ไดรับการอนุรักษไวอยางดี
กลาวโดยสรุปลักษณะของอาคารเปนสถาปตยกรรมแบบยุโรปยุคนีโอคลาสสิก เปน
อาคารกออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปนหยา และออกแบบเปนหนาจั่วตรงกลางดานหนาอาคาร
ประตูหนาตางเปนทรงโคงอยางสวยงามแบบโรมัน อาคารแสดงออกถึงความแข็งแกรงและสงางาม
ประดับมุขผนังอาคารดวยการทําลวดลายเซาะรอง อยางเดียวกับการกอหินของยุโรป พื้นชั้นลางปู
ดวยกระเบื้องสั่งจากตางประเทศ พื้นชั้นบนปูดวยไมสัก บริเวณชั้นสองเปนภาพจิตรกรรมเขียนสี
แบบสเตนซิล (Stencil) เปนลวดลายดอกไมแบบตะวันตกอยางงดงามภายในบานเลขที่ 1 เปนอาคาร
2 ชั้น และมีสนามหญากวางขวาง
เรื่องที่ 3อาคารไปรษณียกลาง
1. ประวัติอาคารไปรษณียกลาง
ระบบไปรษณียของไทยมีตนกําเนิดที่มีความเกี่ยวของกับประเทศอังกฤษ กอนที่จะมีการ
กอตั้งไปรษณียไทย การใหบริการไปรษณียสวนใหญนั้นจํากัดอยูแตสําหรับราชวงศ จนเมื่อปพ.ศ.
2401 ประเทศอังกฤษไดกอตั้งไปรษณียกงสุลอังกฤษขึ้นเพื่อบริการรับสงไปรษณีย เนื่องจากมีความ
ตองการจากบรรดาผูที่มาอาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร และมีการเซ็นสนธิสัญญากันระหวางประเทศ
อังกฤษและประเทศสยาม ประเทศสยามเองก็ไดเริ่มขยายโครงสรางพื้นฐานดานบริการไปรษณีย
และเขารวมสหภาพไปรษณียสากลในที่สุด ซึ่งนํามาสูการปดบริการของไปรษณียกงสุลอังกฤษ