Page 88 - Bang rak111
P. 88

81







                       ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                               1. อธิบายสถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญในเขตบางรักแตละแหงได

                               2. ตระหนักและเห็นคุณคาของสถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญในเขตบางรัก



                       ขอบขายเนื้อหา
                               บทที่ 5 สถานที่สําคัญของบางรักศึกษานาเรียนรู มีขอบขายเนื้อหาดังนี้

                                      เรื่องที่ 1พิพิธภัณฑชาวบางกอก
                                      เรื่องที่ 2บานเลขที่ 1
                                      เรื่องที่ 3อาคารไปรษณียกลาง

                                      เรื่องที่ 4หองสมุดเนลสัน เฮย
                                      เรื่องที่ 5พิพิธภัณฑหินแปลก


                       สื่อประกอบการเรียน

                               1. ชื่อหนังสือ คูมือติดตอราชการ  ชื่อผูเขียน  สํานักงานเขตบางรัก
                       ป พ.ศ. ไมปรากฏปพิมพ โรงพิมพไมปรากฏที่พิมพ

                               2. บทความเรื่องพิพิธภัณฑชาวบางกอก ชื่อผูเขียน สํานักงานเขตบางรักสืบคนจาก
                       www.bangkok.go.th/bangrak
                               3. นางศิริวิมล เพชรรันต  ที่อยู พิพิธภัณฑชาวบางกอก  สถานที่ตั้ง273
                       ซอยเจริญกรุง 43 แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร  หมายเลขโทรศัพท 089-7839490

                               4. พิพิธภัณฑชาวบางกอก  สถานที่ตั้ง273  ซอยเจริญกรุง 43 แขวงสี่พระยา
                       เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร  หมายเลขโทรศัพท 02-2337027



                       เรื่องที่ 1พิพิธภัณฑชาวบางกอก
                               1. ประวัติพิพิธภัณฑชาวบางกอก
                                 พิพิธภัณฑชาวบางกอกหรือ พิพิธภัณฑทองถิ่นกรุงเทพมหานครเขตบางรัก เปนหนึ่งใน

                       แหลงทองเที่ยวมุมมองใหมในบางกอกไดจัดตั้งขึ้นตามวัตถุประสงค และความตั้งใจของนางสาววราพร
                       สุรวดีผูเปนเจาของซึ่งอยากจะจัดบานและทรัพยสินมรดกที่ไดจากมารดา คือ นางสอางสุรวดีใหเปน
                       พิพิธภัณฑเพื่อใหเยาวชนรุนหลังไดศึกษาเกี่ยวกับ สภาพชีวิตความเปนอยูของ ชาวบางกอกที่มีฐานะ
                       ปานกลางในระยะกอนและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อนางสาววราพรสุรวดีดําเนินการจัดสิ่งของ

                       เรียบรอยไดทําเรื่องยกบานหลังนี้ใหเปนสมบัติของกรุงเทพมหานคร
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93