Page 86 - Bang rak111
P. 86
79
บทที่ 5
สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญของบางรักศึกษานาเรียนรู
สาระสําคัญ
1. ประวัติของพิพิธภัณฑชาวบางกอกพิพิธภัณฑชาวบางกอกจัดตั้งขึ้นตามวัตถุประสงค
และความตั้งใจของนางสาววราพรสุรวดีผูเปนเจาของซึ่งอยากจะจัดบานและทรัพยสินมรดกที่ไดจาก
มารดา คือ นางสอางสุรวดี ใหเปนพิพิธภัณฑเพื่อใหเยาวชนรุนหลังไดศึกษาเดิมเปนของเอกชน
ภายหลังมอบใหเปนสมบัติของกรุงเทพมหานครความสําคัญของพิพิธภัณฑชาวบางกอกคือพิพิธภัณฑ
ชาวบางกอก เปนพิพิธภัณฑทองถิ่นกรุงเทพมหานครของเขตบางรัก มีลักษณะเปนบานพักอาศัยที่เลา
เรื่องราวเกี่ยวกับสภาพความเปนอยูของชาวบางกอกที่มีฐานะปานกลางในระยะกอนและหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2การเดินทางไปพิพิธภัณฑชาวบางกอกเดินทางสะดวกเพราะสามารถเดินทางไดทั้ง
ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ (Bangkok Trasit System : BTS)รถโดยสารประจําทางและรถโดยสาร
ประจําทางปรับอากาศและลักษณะเดนของพิพิธภัณฑชาวบางกอกประกอบดวยอาคาร 4 หลัง โดย
อาคารหลังที่ 1 จัดแสดงหองรับแขก หองอาหาร หองหนังสือ หองโถงชั้นลาง หองนอนคุณยายอิน
หองแตงตัวแบบยุโรป และหองนอนใหญอาคารหลังที่ 2 จําลองหองทํางานและหองนอนของคุณ
หมอฟรานซิสคริสเตียน อาคารหลังที่ 3 จัดแสดงขาวของเครื่องใชในบานและภาพรวมของ
กรุงเทพมหานคร อาคารหลังที่ 4 จัดเปนสํานักงานหองสมุด
2. ประวัติของบานเลขที่ 1บานเลขที่ 1 เปนสถานที่ตั้งบริษัทฝรั่งเศสที่ชื่อวา
SocieteFrancaise des Distilleries de l’Indochine (SFDI) ที่เขามาชวยรัฐบาลฝรั่งเศสในการ
จัดหาทรัพยากรใหกับประเทศฝรั่งเศส ความสําคัญของบานเลขที่1ปจจุบันใชเปนสถานที่จัดงานตางๆ
เชน งานวิวาห งานเลี้ยง รวมถึงรองรับการจัดงานประชาสัมพันธ งานแสดงสินคา หรืองานนิทรรศการ
และงานเลี้ยงสังสรรค เปนตน การเดินทางมีความสะดวก เพราะสามารถเดินทางไดทั้ง ระบบขนสง
มวลชนกรุงเทพ (Bangkok Trasit System : BTS) รถโดยสารประจําทางและรถโดยสารประจําทาง
ปรับอากาศ และลักษณะเดนของบานเลขที่ 1 อาคารเปนสถาปตยกรรมแบบยุโรปยุคนีโอคลาสสิก
เปนอาคารกออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปนหยา และออกแบบเปนหนาจั่วตรงกลางดานหนาอาคาร
ประตูหนาตางเปนทรงโคงอยางสวยงามแบบโรมัน อาคารแสดงออกถึงความแข็งแกรงและสงางาม
ประดับมุขผนังอาคารดวยการทําลวดลายเซาะรอง อยางเดียวกับการกอหินของยุโรป พื้นชั้นลางปู
ดวยกระเบื้องสั่งจากตางประเทศ พื้นชั้นบนปูดวยไมสัก บริเวณชั้นสองเปนภาพจิตรกรรมเขียนสี
แบบสเตนซิล (Stencil) เปนลวดลายดอกไมแบบตะวันตกอยางงดงามภายในบานเลขที่ 1 เปนอาคาร
2 ชั้น และมีสนามหญากวางขวาง
3. ประวัติของอาคารไปรษณียกลางกอตั้งโดยประเทศอังกฤษ ในป พ.ศ. 2401เพื่อบริการ
รับสงไปรษณีย ในเขตกรุงเทพมหานครในขณะที่ประเทศสยามไดเริ่มขยายโครงสรางพื้นฐานดาน
บริการไปรษณีย และเขารวมสหภาพไปรษณียสากล จากความตองการที่เพิ่มขึ้นและการขยายการ