Page 82 - Bang rak111
P. 82

75




                                  1.9  สรุวงษวัฒนาคาร
                               2. อาคารสถานที่ราชการ
                                 2.1  สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาเขต 4
                                 2.2  มูลนิธิธารใจไลกา

                                 2.3  ที่ทําการไปรษณียพัฒนพงษ
                               3. แหลงเศรษฐกิจ
                                 เปนถนนที่เปนที่ตั้งของภัตตาคารและรานอาหารชั้นสูงสําหรับรับรองชาวตางชาติ และ
                       ชนชนสูงโดยเฉพาะ เชนเดียวกับถนนราชวงศ ในยานเยาวราช และถนนสี่พระยาที่อยูใกลเคียงและยัง

                       ปรากฏหลักฐานของกองชางนคราทร (เทียบกับปจจุบัน คือ กรมโยธาธิการและผังเมือง) ที่ไดทําการ
                       ประเมินพื้นที่กอสรางที่แนวถนนสุรวงศตอไปยังอาคารศุกลสถาน ริมแมน้ําเจาพระยา ในปจจุบันนี้
                       ถนนสุรวงศถือเปนยานธุรกิจที่สําคัญ เชนเดียวกับ ถนนสีลม หรือถนนสาทร ที่อยูใกลเคียง และยัง
                       เปนแหลงทองเที่ยวยามราตรีที่ไดรับความนิยม เนื่องจากมีถนนพัฒนพงษ และถนนธนิยะ ตัดผาน

                               กลาวโดยสรุปถนนสุรวงศ(ThanonSurawong)เปนถนนในพื้นที่แขวงสุริยวงศเขตบางรัก
                       กรุงเทพมหานครเชื่อมระหวางถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4เปนถนนคูขนานกับถนนสีลมและ
                       ถนนสี่พระยาซึ่งอยูใกลเคียง ถนนสุรวงศดานอาคารพาณิชย มี 9  แหง  สวนดานอาคารสถานที่

                       ราชการ มี 3 แหง และปจจุบันถนนสุรวงศเปนแหลงเศรษฐกิจยานถนนสุรวงศมีการทําธุรกิจประกัน
                       ชีวิต สถาบันทางการเงิน และถนนคนเดิน มีความสําคัญทางดานแหลงธุรกิจการคาและการลงทุน


                       เรื่องที่ 4ถนนเจริญกรุง

                               ถนนเจริญกรุง(Thanon Charoen Krung)ถนนสายสําคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
                       เริ่มตนตั้งแตถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หนาหนวยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แมน้ํา
                       เจาพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ และการไฟฟานครหลวง เขตยานวานา

                       เปนถนนรุนแรกที่ใชเทคนิคการสรางแบบตะวันตก ผานพื้นที่เขตพระนครเขตปอมปราบศัตรูพาย
                       เขตสัมพันธวงศเขตบางรักเขตสาทรและเขตบางคอแหลม และเปนเสนแบงของเขตปอมปราบศัตรูพาย
                       (ดานซาย) กับเขตสัมพันธวงศ (ดานขวา) ตั้งแตชวงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี

                               ถนนเจริญกรุงเปนถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาโปรดกระหมอมให
                       สรางขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ พ.ศ.2405 แลวเสร็จใน ปพ.ศ.2407 มีความยาวจากถนนสนามไชย
                       ถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การกอสรางถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอม
                       เกลาเจาอยูหัวมีชาวตางประเทศเขามาอยูในกรุงเทพมหานครมากขึ้น และมีพวกกงสุลไดเขาชื่อกัน
                       ขอใหสรางถนนสายยาวสําหรับขี่มาหรือนั่งรถมาตากอากาศและอางวา “เขามาอยูที่กรุงเทพมหานคร

                       ไมมีถนนหนทางที่จะขี่รถมาไปเที่ยวพากันเจ็บไขเนือง ๆ”ในประกา ปพ.ศ.2404จึงทรงพระกรุณา
                       โปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค ตอมาคือ สมเด็จเจาพระยาบรม
                       มหาศรีสุริยวงศ)ที่สมุหพระกลาโหมเปนแมกอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเปนนายงาน

                       รับผิดชอบในการกอสรางถนนชวงตั้งแตคูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแมน้ําเจาพระยาที่ตําบลบางคอ
                       แหลม เรียกวาถนนเจริญกรุงตอนใต (แตชาวบานมักเรียกวาเจริญกรุงตอนลาง) กวาง 5 วา 4 ศอก
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87