Page 80 - Bang rak111
P. 80

73




                       ถนนขวางเนื่องจากบริเวณนี้มีพื้นที่คลองอยูเปนจํานวนมาก ชาวตางประเทศไดนําเครื่องสีลม หรือ
                       กังหันลม ซึ่งใชสําหรับการวิดน้ํา มาติดตั้งที่ถนนขวาง โดยที่บริเวณทั่วไปยังเปนทุงนาโลง เครื่องสีลม
                       วิดน้ํา จึงดูเดน จนกลายเปนสัญลักษณและชื่อเรียกของถนนมาถึงปจจุบัน ดานอาคารพาณิชย มี 8
                       แหง สวนดานอาคารสถานที่ราชการ มี 4 แหง และปจจุบันถนนสีลมเปนแหลงเศรษฐกิจปจจุบันถนน

                       สีลมนับเปนถนนธุรกิจสายสําคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีผูขนานนามถนนสีลมวา “วอลล
                       สตรีตของกรุงเทพมหานคร”


                       เรื่องที่ 2ถนนสี่พระยา

                               ถนนสี่พระยา (Thanon Si Phraya) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ถือ
                       เปนถนนสายรองของพื้นที่ เปนถนนเชื่อมระหวางถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4 มีจุดเริ่มตนที่

                       แขวงสี่พระยา บริเวณหนาโรงแรมรอยัลออรคิดเชอราตัน และศูนยการคาริเวอรซิตี้ไปสิ้นสุดที่แยก
                       สามยานบริเวณหนาวัดหัวลําโพง อันเปนจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 และถนนพญาไทถนนสี่พระยา
                       มีที่มาจากการที่ขุนนางซึ่งมีบรรดาศักดิ์เปนพระยา 4 คน ไดแก พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง
                       (ม.ร.ว.ลพ สุทัศน)พระยาพิพัฒโกษา (เซเรสติโน ซาเวียร)พระยานรฤทธิ์ราชหัช (ทองดี โชติกเสถียร)

                       และพระยานรนารถภักดี (สุด บุนนาค) รวมถึงหลวงมนัศมานิต (เถียนโชติกเสถียร) ไดรวมกันซื้อที่ดิน
                       ระหวางถนนสุรวงศกับคลองผดุงกรุงเกษมและสรางผานที่ดินเชื่อมตอกับถนนเจริญกรุง คือ วัดหัว
                       ลําโพงไปตกทาน้ํา คือ ทาน้ําสี่พระยา พระยาทั้ง 4 คนไดนอมเกลานอมกระหมอมถวาย
                       พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม

                       พระราชทานนามวา “ถนนสี่พระยา” เมื่อปพ.ศ.2449ตามที่พระเจาบรมวงศเธอพระองคเจาสวัสดิ
                       ประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ ทรงกราบบังคมทูลถวายความเห็น แตมีพระราชกระแสวา ถนนสี่พระ
                       ยานี้เจาของมิไดตัดเพื่อสาธารณประโยชน แตทําเพื่อผลประโยชน โดยทรงเทียบวาไมเหมือนกับวัด
                       สามพระยา แตก็ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานนามดังกลาว และเสด็จพระ

                       ราชดําเนินเปดถนนสี่พระยาเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449
                               1. อาคารพาณิชยบนถนนสี่พระยาไมมีอาคารพาณิชยสวนใหญจะเปนอาคารชุด
                       (Condominium) ที่พัก อาทิเชนศุภาลัย คอนโดมิเนียมAltitude เปนตน

                               2. อาคารสถานที่ราชการ ศูนยบริการสาธารณสุข23  สี่พระยา และทาเรือสี่พระยา
                       (River  city) สถานทูตโปรตุเกส (สถานทูตแหงแรกในกรุงเทพมหานคร ตัวอาคารสถานทูตเปน
                       สถาปตยกรรมแบบโคโลเนียล)อาคารศุลกสถาน (โรงภาษีที่เก็บภาษีจากเรือสินคาตางชาติ ตัวอาคาร
                       เปนสถาปตยกรรมแบบปลลาดีโอ)ที่ทําการหอการคาไทย (แรกเริ่มกอตั้ง คือ บริษัทเอ็กซอนโมบิล
                       (ESSO)

                               3. แหลงเศรษฐกิจ
                                 ถนนสี่พระยา เปนถนนที่แยกออกจากตรอกกัปตันบุช (ซอยเจริญกรุง 30) ซึ่งอยู
                       ระหวางตรอกฮองกงกับที่ทําการไปรษณียกลางบางรัก ไปจนถึงวัดหัวลําโพง พื้นที่บริเวณนี้ในอดีตเปน

                       แหลงการคาขายสําคัญที่ตอเนื่องมาจากยานเยาวราชสําเพ็ง และตลาดนอย ในเขตสัมพันธวงศเปน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85