Page 77 - Bang rak111
P. 77

70




                                                            บทที่ 4


                                   สถานที่สําคัญทางเศรษฐกิจของบางรักศึกษานาเรียนรู




                       สาระสําคัญ
                               1. ถนนสีลม (Thanon Si Lom) สรางขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
                       รัชกาลที่ 4  อันเปนยุคเริ่มตนการปฏิรูปประเทศ ใหเจริญกาวหนาไปในแนวทางเดียวกันกับนานา

                       อารยประเทศ ซึ่งมีชาติตะวันตกเปนแบบแผนถนนเดิมเรียกชื่อวา “ถนนขวาง” เดิมเปนคันดินที่เกิด
                       จากการขุดคลองเพื่อเชื่อมคลองบางรักกับคลองถนนตรงคันดินจึงกลายเปนถนนที่เรียกกันวาถนน
                       ขวางเนื่องจากบริเวณนี้มีพื้นที่คลองอยูเปนจํานวนมาก ชาวตางประเทศไดนําเครื่องสีลม หรือ กังหัน

                       ลม ซึ่งใชสําหรับการวิดน้ํา มาติดตั้งที่ถนนขวาง โดยที่บริเวณทั่วไปยังเปนทุงนาโลง เครื่องสีลมวิดน้ํา
                       จึงดูเดน จนกลายเปนสัญลักษณและชื่อเรียกของถนนมาถึงปจจุบัน ดานอาคารพาณิชย มี8 แหง  สวน
                       ดานอาคารสถานที่ราชการ มี4  แหง และปจจุบันถนนสีลมเปนแหลงเศรษฐกิจถนนสีลมนับเปนถนน
                       ธุรกิจสายสําคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีผูขนานนามถนนสีลมวา “วอลลสตรีตของ

                       กรุงเทพมหานคร”
                               2. ถนนสี่พระยา(Thanon  Si  Phraya) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตบางรักกรุงเทพมหานคร
                       ถือเปนถนนสายรองของพื้นที่เปนถนนเชื่อมระหวางถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4มีจุดเริ่มตนที่

                       แขวงสี่พระยา บริเวณหนาโรงแรมรอยัลออรคิดเชอราตัน และศูนยการคาริเวอรซิตี้ไปสิ้นสุดที่แยก
                       สามยานบริเวณหนาวัดหัวลําโพงอันเปนจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 โดยขุนนางซึ่งมีบรรดาศักดิ์เปน
                       พระยา 4 คนไดรวมกันซื้อที่ดินระหวางถนนสุรวงศกับคลองผดุงกรุงเกษมและสรางผานที่ดินเชื่อมตอ
                       กับถนนเจริญกรุง คือวัดหัวลําโพงไปตกทาน้ํา คือทาน้ําสี่พระยาพระยาทั้ง 4 คนไดนอมเกลานอม
                       กระหมอมถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวพระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรด

                       กระหมอม พระราชทานนามวา “ถนนสี่พระยา”เมื่อปพ.ศ. 2449 ดานอาคารพาณิชยสวนใหญเปน
                       อาคารชุดที่พักอาศัยมีมากกวา60  แหง  สวนดานอาคารสถานที่ราชการศูนยบริการสาธารณสุขที่23
                       ปจจุบันถนนสี่พระยาเปนแหลงเศรษฐกิจเปนที่ตั้งของบริษัทหางรานใหญ ๆ หลายแหง และยังมี

                       บานเรือนของชาวตางประเทศ โดยเฉพาะชาวตะวันตกอีกมากดวย ซึ่งปจจุบันหลายหลังก็ยังปรากฏ
                       อยู
                               3. ถนนสุรวงศ(ThanonSurawong)         เปนถนนในพื้นที่แขวงสุริยวงศเขตบางรัก
                       กรุงเทพมหานครเชื่อมระหวางถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4เปนถนนคูขนานกับถนนสีลมและ

                       ถนนสี่พระยาซึ่งอยูใกลเคียง ถนนสุรวงศดานอาคารพาณิชย มี 9 แหงสวนดานอาคารสถานที่ราชการ
                       มี 3  แหงและปจจุบันถนนสุรวงศเปนแหลงเศรษฐกิจยานถนนสุรวงศมีการทําธุรกิจประกันชีวิต
                       สถาบันทางการเงิน และถนนคนเดิน มีความสําคัญทางดานแหลงธุรกิจการคาและการลงทุน
                               4. ถนนเจริญกรุง (ThanonCharoenkrung)  เปนถนนสายสําคัญสายหนึ่งในพื้นที่

                       กรุงเทพมหานครเริ่มตนตั้งแตถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด.หนาหนวยบัญชาการรักษาดินแดน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82