Page 83 - Bang rak111
P. 83

76




                       (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบไดกับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร (ตนสกุลเศวตศิลา)
                       เปนผูสํารวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปจอ ปพ.ศ.2405 โปรดเกลาโปรดกระหมอม ให
                       เจาพระยายมราช (ครุฑ) เปนแมกอง พระยาบรรหารบริรักษ (สุน) เปนนายงาน รับผิดชอบการ
                       กอสรางถนนเจริญกรุงตอนใน คือชวงระยะทางตั้งแตวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

                       (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดํารงสถิต (สะพานเหล็กบน) กวาง 4 วา โดยสรางเปนถนนดินอัดเอาอิฐเรียง
                       ตะแคงปูใหชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไมกี่ปก็ชํารุด การกอสรางถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิม
                       กําหนดใหตัดตรงจากสะพานดํารงสถิต ถึงกําแพงเมืองดานถนนสนามไชย แตพระบาทสมเด็จพระปน
                       เกลาเจาอยูหัวทรงทักทวงวาการสรางถนนตรงมาสูพระบรมมหาราชวังอาจเปนชัยภูมิใหขาศึกใชตั้ง

                       ปนใหญยิงทําลายกําแพงเมืองได จึงตองเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดํารงสถิต
                               เมื่อสรางถนนเจริญกรุงเสร็จใหมๆ นั้น ยังไมไดพระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปวา ถนน
                       ใหม และชาวยุโรปเรียกวา นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสําเนียงแตจิ๋ววา ซิงพะโลว (อักษร

                       จีน: 新打路)  แปลวาถนนตัดใหม ตอมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดเกลา
                       โปรดกระหมอม พระราชทานนามถนนวา “ถนนเจริญกรุง” ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุงเรืองของ
                       บานเมือง เชนเดียวกับชื่อถนนบํารุงเมืองและถนนเฟองนคร ที่โปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหสรางขึ้น

                       ในคราวเดียวกัน
                               1. อาคารพาณิชย
                                 อาคารชุดThe room
                               2. อาคารสถานที่ราชการ
                                 อาคารไปรษณียกลาง

                               3. แหลงเศรษฐกิจ
                                 เปนยานเศรษฐกิจที่มีนักทองเที่ยวเดินทางมาชมพิพิธภัณฑ สิ่งกอสรางโบราณสถานที่
                       สวยงาม และสามารถเดินทางตอไปยังยานเยาวราชไดสะดวก

                               กลาวโดยสรุปถนนเจริญกรุง (ThanonCharoenkrung)  เปนถนนสายสําคัญสายหนึ่งใน
                       พื้นที่กรุงเทพมหานครเริ่มตนตั้งแตถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด.หนาหนวยบัญชาการรักษา
                       ดินแดน สิ้นสุดที่แมน้ําเจาพระยาที่ถนนตกบริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ และการไฟฟา
                       นครหลวง เขตยานวานา เปนถนนรุนแรกที่ใชเทคนิคการสรางแบบตะวันตก ผานพื้นที่เขตพระนคร

                       เขตปอมปราบศัตรูพายเขตสัมพันธวงศเขตบางรักเขตสาทรและเขตบางคอแหลมและเปนเสนแบงของ
                       เขตปอมปราบศัตรูพาย (ดานซาย) กับเขตสัมพันธวงศ (ดานขวา) ตั้งแตชวงคลองถมไปจนถึงบริเวณ
                       แยกหมอมีดานอาคารพาณิชย และอาคารสถานที่ราชการ มีอยางละ  1  แหง ปจจุบันถนนเจริญกรุง
                       เปนแหลงเศรษฐกิจถนนสายนี้มีความเจริญรุงเรืองมาตั้งแตครั้งอดีต เนื่องดวยพระบาทสมเด็จพระ

                       จอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) หลังจากที่พระองคเสด็จขึ้นครองราชย ทรงทํานุบํารุงประเทศชาติให
                       เจริญรุงเรืองในทุกๆ ดาน ดานหนึ่งที่สําคัญคือดานเศรษฐกิจ พระองคทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอม
                       ใหสรางถนนเจริญกรุงขึ้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2404
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88