Page 19 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 19

  คุณคณาทัต จันทร์ศิริ
ฤ ดู ไ ฟ ไ ห ม้
เมื่อ พ.ศ.2535 ครั้งที่ผมเริ่มเป็นผู้บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันระงับ อัคคีภัยใหม่ๆ ผมมักจะถามผู้เข้าอบรมเสมอว่า “เมืองไทยมีกี่ฤดู?” ซึ่งได้รับคําา ตอบว่า “ 3 ฤดู” มาโดยตลอด
และก็เป็นคําาตอบที่ถูกต้อง ตามหลักภูมิศาสตร์ซะด้วย!! แต่ผมกลับบอกเขา เหล่านั้นว่า “เมืองไทยมี 4 ฤดู!”
ซึ่งแต่ละคนก็ทําางงๆ เหลียวซ้าย แลขวากันเลิ่กลั่ก ไล่เรียงกันใหม่ ว่ามีฤดูอะไรมั่ง ตั้งแต่ ฤดูร้อน...ฤดูฝน...แล้วก็ฤดูหนาว... ก็มีเท่านี้แหละ ! จนผมต้องเฉลย ฤดูที่ 4 ว่า “ฤดูไฟไหม้” จึงทําาให้ทุกคนเริ่มสนใจที่จะติดตาม ความหมาย “ฤดูที่ 4” ของผมอย่างใจจดจ่อ คําาว่า “ฤดูไฟไหม้” หรือ “ฤดูที่ 4 ของเมืองไทย” ไม่ใช่ผมคิดขึ้นมาเองหรอกครับ!
ถ้าท่านผู้อ่านที่อายุกว่าครึ่งศตวรรษอย่างผม คงยังจะพอจําาได้....ลองนึกดูให้ดี เมื่อสมัย ฯพณฯ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัตน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ยุคนั้นมีการพูดถึงฤดูไฟไหม้กันอย่างเป็นทางการ และได้กําาหนดไว้อย่างเป็นที่เข้าใจกันว่า... คือระยะเวลาระหว่างเดือนธันวาคม ถึงส้ินเดือนกุมภาพันธ์ ท่านให้คําาจําากัดความได้ว่า “ฤดูไฟไหม้” จะเป็นช่วงท่ีอากาศแห้ง มี ความช้ืนน้อย บรรยากาศรื่นเริง เพราะเป็นหน้าเทศกาล มีการเฉลิมฉลองกันอย่างเต็มท่ี อาทิ งานเฉลิมพระชนม์พรรษา 5 ธันวา งานตรุษฝรั่ง คริสต์มาส 24-25 ธันวาคม งานปีใหม่ต้ังแต่ปลายธันวาคมไปจนถึงกลางมกราคม วันเด็ก วาเลนไทน์ แล้วปิดท้ายด้วยตรุษจีน ซ่ึงเป็น “ไฮไลท์” สุดยอดของฤดูไฟไหม้...
   จากสถิติการเกิดเพลิงไหม้ ระยะเวลา ช่วงน้ีแหละครับ เกิดเหตุกันมากท่ีสุด ว่ากัน ด้วยตัวเลขคร่าวๆ ก็คือ “ฤดูไฟไหม้” เกิด เหตุเพลิงไหม้ทั้งเล็กและใหญ่ ประมาณร้อย ละ 60-70 ของเหตุท่ีเกิดขึ้นทั้งปี
ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ท่านแก้ไขเหตุ เพลิงไหม้นี้ด้วย มาตรา 17 หรือเรียกกัน ติดปากว่า “ม.17” ซึ่งแก้ได้ชะงัดนักแล!
เพราะเม่ือประกาศใช้ “ม.17” อย่าง เป็นทางการ “ฤดูไฟไหม้” ที่เคยเผาผลาญ อาคารบ้านเรือน ทรัพย์สิน และชีวิตผู้คน เป็นจําานวนมหาศาลทุกปี กลับ “กล่อย” และ “หยจ้อย” ไปในทันทีแทบไม่มีเลยซัก ครั้งเดียว...
“ม.17” น้ันสําคัญไฉน? ใยจึงไล่ฤดูไฟไหม้ให้หดหยไปได้
กระผมตอ้ งขออภยั ทไ่ี มไ่ ดค้ น้ “ตวั บท” มา ลงไว้ในท่ีน้ี จะขอสรุปเพียงว่า มาตรา 17 นั้น เป็นอําานาจของ “ท่านผู้นําา” ที่สามารถทําาการ ลงโทษขั้นรุนแรงสุด คือ ประหารชีวิตได้ กับ ใครก็ตามที่เป็นภัยต่อประเทศชาติ และท่าน ชี้เปรี้ยงลงไปเลยว่า “ผู้ใดกระทํากรอันต้ังใจ หรือมิได้ตั้งใจ ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ ผู้ น้ันเป็นภัยต่อประเทศชติ” มีโทษประหารชีวิต โดยยิงเป้า โป้ง โป้ง โป้ง...ครับ!
และกม็ ผี ถู้ กู ยงิ เปา้ เพราะเหตนุ จ้ี รงิ ๆ ดว้ ย แต่ผมจําาไม่ได้ว่ากี่ราย !
นิทนเร่ืองน้ีสอนไว้ว่ยังไงครับ ?
ชัดเจนเลยว่า...ไฟไหม้เกิดจากคนเป็น สําาคัญ และคนนี่แหละท่ี “วงเพลิง”
วา่ กนั ตามทฤษฎแี ลว้ สาเหตแุ หง่ เพลงิ ไหม้ มีหลักใหญ่ๆ อยู่ 5 ประการ คือ
1. วางเพลิง
2. อุบัติเหตุ
3. ประมาท
4. การแพร่กระจายความร้อน
5. การลุกไหม้ข้ึนเอง
ในเร่ืองของ “อุบัติเหตุ” มักถูกยัดเยียด
ขอ้ หาใหม้ ากทส่ี ดุ โดยเฉพาะอบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จาก ไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งผมเรียกว่า “ไฟฟ้แพะ”
อะไรหรือครับ “ไฟฟ้แพะ” ?
ท่านลองสังเกตดูซิครับว่า...ทุกคร้งั ท่มี ีเหตุ เพลงิ ไหม้ ไมว่ า่ ทไ่ี หนนะครบั ...ทง้ั โลกกว็ า่ ได...้ เวลาพดู ถงึ สาเหตทุ เ่ี กดิ เพลงิ ไหม...้ 90% มกั บอก ว่า... “สันนิษฐนว่เกิดจกไฟฟ้ลัดวงจร”
ทั้งๆ ท่ีจริง ผู้เช่ียวชาญด้านพลังงาน
  ISSUE3.VOLUME21.NOVEMBER2014-JANUARY2015
15
                  ี
ภ
ม
ั
ร
์
อ
ค
ั
ค
ค
ี
ภ
ั
ย






























































   17   18   19   20   21