Page 38 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 38

        แต่ผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่ไม่สามารถช่วยตัว เองได้ซิครับ....ทําายังไง? ถ้าเราไม่ช่วยเขาตั้งแต่ วินาทีแรก เขาจะรอดมั้ย?...
ด้วยประสบการณ์ที่ผมทําางานด้านความ ปลอดภัยในโรงพยาบาล ทั้งในและนอกประเทศ มากกว่า 120 โรงพยาบาล.... ทุกโรงพยาบาล อาคารสูงกว่า 3 ชั้น พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า... ไม่มีรอกหนีไฟ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้...“คนไข้ไม่ รอด!”
แตว่ นั นโ้ี รงพยาบาลในประเทศไทย โรงพยาบาล อาคารสูง โรงไหนบ้างที่มีอุปกรณ์นี้ในการเตรียม พร้อมช่วยชีวิตผู้ป่วย....ลองหาคําาตอบเองนะครับ ก่อนตัดสินใจใช้บริการ!!..
6. เครอ่ื งกระตกุ หวั ใจไฟฟา้ แบบอตั โนมตั ิ (AED) วันนี้ประเทศไทยเริ่มมีแพร่หลายในท่ี 5. หน้ากากกันควันพิษแบบมีถังอัด สาธารณะมากขึ้นแล้ว แต่ท่ีเกาหลีมีมากกว่าหลาย
อากาศ(SCBA.)ใชส้วมใสเ่ขา้ทาําการดบัไฟหรอื เท่าตัว....เพื่ออะไรหรือครับ? ช่วยคนท่ีติดในหมอกควัน
เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ไปแล้วเกิน 4 นาที ควัน พิษ และความร้อนจะขยายตัวจนเป็นอันตราย มาก หากไม่มี SCBA แล้ว โอกาสท่ีจะระงับเหตุ หรือช่วยผู้ประสบภัยแทบไม่มีเลย !!
ในกรณีมีผู้เกิด อาการหัวใจหยุด เต้นบางกรณี (ราย ละเอียด ผมเคย นําาเสนอแล้วใน TEMCA Mag. ฉบับที่ 1 ปีที่ 23 เดือนพฤษภาคม- กรกฎาคม 2559) เครื่องนี้ช่วยให้มี โอกาสรอดได้มาก ขึ้นถึง 40%
เร่ืองความปลอดภัย เป็นตัวชี้วัดที่สําาคัญของ สังคม ท่ีแสดงให้เห็นว่า กลุ่มชนนั้น เห็นความ สําาคัญในชีวิตซ่ึงกันและกัน มาก-น้อยเพียงใด : นั่นคือ ความรับผิดชอบ กลุ่มชนน้ัน มีความรัก สามัคคีกันในระดับ มาก-น้อยเพียงใด : น่ันคือ คุณธรรม ผมจึงมีความเชื่ออย่างสนิทใจว่า “คุณธรรม นําาปลอดภัย”
     ISSUE3.VOLUME23.NOVEMBER2016-JANUARY2017
21
ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและ ช่วยชีวิต FARA และ สมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิง และกู้ภัยแห่งเอเซีย
                     ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ













































































   36   37   38   39   40