Page 41 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 41
วิชาชีพ วัชรินทร์ ชัยยา โทร. 095-1349991)
1. เมื่อเกิดอุบัติภัย ใครเป็นผู้ส่ังการในหน่วยงานของท่าน 2. ใน 1 ปีท่ีผ่านมา ท่านได้ซ้อมอุบัติภัยกี่ครั้ง
3. ความพร้อมของอุปกรณ์ในหน่วยงาน(ในการซ้อม)
ใช้ได้ดี ไช้ไม่ได้ อื่นๆ (ระบุ)
4. ในหน่วยานของท่าน มีทีมฉุกเฉิน (ERT) กี่คน
5. รพ.ของท่านมีนโยบายการช่วยผู้ป่วยวิกฤติในอาคารสูงอย่างไร 6. หน่วยงานของท่านมีอุปกรณ์เพ่ือการขนย้ายผู้ป่วยวิกฤตหรือไม่
อะไรบ้าง
7. เม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ท่านขนย้ายผู้ป่วยอย่างไร
7.1 เม่ือเกิดเหตุแผ่นดินไหวท่านขนย้ายผู้ป่วยอย่างไร 7.2 เมื่อเกิดสารพิษรั่วไหลท่านขนย้ายผู้ป่วยอย่างไร
ใครเป็นผู้สั่งการ
มีระบบควบคุมอย่างไร ประสานงานกับใคร
สื่อสารอย่างไร
8. หน่วยงานของท่านมีอุปกรณ์เตือนภัย
8.1 เครื่องตรวจจับควันSmokeDetector จําานวน..........................
8.2 เครื่องตรวจจับความร้อนHeatDetector จําานวน..........................
8.3 อุปกรณ์ดับเพลิงอัตโนมัติ(sprinkler) จําานวน..........................
8.4 อุปกรณ์แจ้งเหตุฉุกเฉิน(Fire/EmergencyAlarm) จําานวน..........................
9. หน่วยงานของท่านมีทางออกตรงข้ามกันอย่างน้อย 2 ทิศทาง หรือไม่
มีกี่ทาง ...........
ไม่มี หรือมีทางหนีวิธีอื่นๆ คือ (บันไดฉุกเฉิน, รอกหนีไฟ,
หนีทางหน้าต่าง ฯลฯ) ระบุ ..........................................
10. ทางออกของท่านใช้ขนย้ายผู้ป่วยได้สะดวกจําานวนกี่ทาง.......... 11. เมื่อเกิดอุบัติภัยใครที่สามารถเข้ามาช่วยเหลือท่านได้เร็วที่สุด 12. ระยะเวลาที่ทีมสามารถมาช่วยเหลือท่านได้เร็วที่สุดกี่นาที
13. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อระบบความปลอดภัยในหน่วยงาน
ของท่าน
ขอแถมอีก 2 ข้อ เพื่อถามผู้อ่าน TEMCA Mag. กรุณาช่วยตอบด้วย นะครับ (ส่งคําตอบไปที่ผู้เขียน Email: fara.kanathat@gmail.com)
14. ท่านคิดว่าผู้รับผิดชอบออกแบบโครงสร้างอาคารโรงพยาบาลได้
ปลอดภัยอย่างเหมาะสมหรือไม่...อย่างไร
15. ทา่ นคดิ วา่ ผเู้ กย่ี วขอ้ งไดเ้ ตรยี มอปุ กรณ์ในการชว่ ยชวี ติ ผปู้ ว่ ยวกิ ฤติ ในโรงพยาบาลอาคารสูงได้อย่างเหมาะสมหรือไม่
กรุณาช่วยกันตอบมาหน่อยนะครับ เป็นการสร้างบุญกุศลแด่ผู้ป่วย ในโรงพยาบาลที่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินแล้วจะได้มีโอกาสรอดชีวิต!
ฉบบั หนา้ ...ผมจะนาํา คาํา ตอบจากผเู้ กย่ี วขอ้ งมาเสนอผอู้ า่ น พรอ้ ม ท้ังผลสรุปการศึกษาตามโครงการฯ น้ีครับ....สวัสดี
ภาพการฝกึ อบรมจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ
รูปที่ 1 เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วย Spinal Board/ใช้ เวลาติดตั้งนาน/ลงทางหนีไฟลําาบาก
รูปที่ 2 ใช้ผ้าปูท่ีนอนยกผู้ป่วย/ไม่ค่อย ปลอดภัยหลุดมือง่าย
รูปท่ี 3 Spinal Board สําาหรับผู้ป่วยบาดเจ็บแนว กระดูกสันหลัง/ไม่ได้จัดเตรียมไว้
ISSUE4.VOLUME23.FEBRUARY-APRIL2017
17
ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ