Page 2 - (4)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือน
P. 2

2

                       4. การรักษาวินัยโดยผูเกี่ยวของ

                         (1) ผูมาขอรับบริการจากทางราชการจะตองไมสนับสนุนใหขาราชการกระทําผิดวินัย
               ดวยการใหผลประโยชนใด ๆ โดยมิชอบ

                         (2) ประชาชนและสื่อมวลชนตองชวยสอดสองดูแล ขาราชการมิใหกระทําผิดวินัย
               เมื่อพบเห็นควรแจง ผูบังคับบัญชา


                       โทษทางวินัยมี ๕ สถาน ดังตอไปนี้
                       (๑) ภาคทัณฑ

                       (๒) ตัดเงินเดือน
                       (๓) ลดเงินเดือน

                       (๔) ปลดออก
                       (๕) ไลออก

                       (๑) (๒) (๓) เปนโทษวินัยอยางไมรายแรง
                       (๔) (๕) เปนโทษวินัยอยางรายแรง
                       การลงโทษภาคทัณฑใหใชกรณีกระทําผิดวินัยเล็กนอย

                       กรณีกระทําผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษจะงดโทษใหโดยใหทําทัณฑบนเปน

               หนังสือหรือวากลาวตักเตือนก็ได

                       พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.25๕๑

                       วินัยขาราชการพลเรือน ประกอบดวย
                       1. ขอบัญญัติวินัย (ม.8๐ - ม.๘๖)
                       2. การรักษาวินัย (ม.๘๗ - ม. ๘๙)

                       3. การดําเนินการทางวินัย (ม. ๙๐ – ม. 1๐๖)
                         3.1 การสอบสวน

                           - ความผิดวินัยอยางไมรายแรง
                           - ความผิดวินัยอยางรายแรง

                         3.2 การสั่งพักราชการ การใหออกจากราชการไวกอน
                         3.3 การพิจารณาความผิด การกําหนดโทษ และการลงโทษ

                         3.4 การดําเนินการกรณีผูถูกกลาวหาออกจากราชการ หรือตายระหวางสอบสวน
                       4. การออกจากราชการ

                       5. การอุทธรณ
                       6. การรองทุกข
   1   2   3   4