Page 61 - ภาษาไทยประถม
P. 61

ห น า  | 61





                    เรื่องที่ 3 เครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ


                          1.  เครื่องหมายววรคตอน
                                        การใชเครื่องหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรื่องการเวนวรรคตอน

                  แลว ยังมีเครื่องหมายอื่นๆ อีกมากทั้งที่ใชและไมคอยไดใช ไดแก



                             เครื่องหมาย                          วิธีการใช


                   1.      ,   จุลภาค          ใชคั่นระหวางคํา หรือคั่นกลุมคํา หรือคั่นชื่อเฉพาะ

                                               เชน ดี, เลว



                   2.      .   มหัพภาค         ใชเขียนจบขอความประโยค และเขียนหลังตัวอักษรยอ

                                               หรือตัวเลขหรือกํากับอักษรขอยอย เชน มี.ค. , ด.ช. , 1.


                                               นาม, ก.คน  ข. สัตว, 10.50 บาท, 08.20 น.


                   3.      ?  ปรัศนี           ใชกับขอความที่เปนคําถาม เชน ปลาตัวนี้ราคาเทาไร?



                   4.      !   อัศเจรีย       ใชกับคําอุทาน หรือขอความที่แสดงอารมณตางๆ เชน อุ

                                               ยตายตาย! พุทธโธเอย! อนิจจา!



                   5.     ( )  นขลิขิต         ใชคั่นขอความอธิบายหรือขยายความขางหนาใหแจ

                                               มแจง เชน นกมีหูหนูมีปก (คางคาว) ธ.ค.(ธันวาคม)



                   6.     ___  สัญประกาศ       ใชขีดใตขอความสําคัญ หรือขอความที่ใหผูอานสังเกต

                                               เปนพิเศษ เชน งานเริ่มเวลา 10.00 น.



                   7.     “  ”  อัญประกาศ      ใชสําหรับเขียนครอมคําหรือขอความ เพื่อแสดงวา

                                               ขอความนั้นเปนคําพูดหรือเพื่อเนนความนั้นใหเดนชัด


                                               ขึ้น เชน “พูดไปสองไพเบี้ย  นิ่งเสียตําลึงทอง”


                   8.      –  ยัติภังค        ใชเขียนระหวางคําที่ เขียนแยกพยางคกันเพื่อใหรู
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66