Page 62 - ภาษาไทยประถม
P. 62

62 | ห น า



                             เครื่องหมาย                          วิธีการใช



                                               พยางคหนากับพยางคหลังนั้นติดกันหรือเปนคํา

                                               เดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้นจะอยูในบรรทัดเดียวกันหรือ

                                               ตางบรรทัดกันก็ได เชน ตัวอยางคําวา  ฎีกา ในกรณีคํา


                                               อยูในบรรทัดเดียว เชน คําวา สัปดาห อานวา สับ - ดา


                   9.     .....  เสนไขปลาหรือ  ใชแสดงชองวางเพื่อใหเติมคําตอบ หรือใชละขอความที่


                               เสนปรุ         ไมตองการเขียน เชน ไอ ........า ! หรือละขอความที่ยก

                                               มาเพียงบางสวน หรือใชแสดงสวนสัมผัสที่ไมบังคับของ

                                               คําประพันธ



                   10.     ๆ  ไมยมก           ใชเขียนเพื่อซ้ําคํา ซ้ําวลี ซ้ําประโยคสั้นๆ เชน ดําๆ

                                               แดงๆ วันหนึ่งๆ ทีละนอยๆ พอมาแลวๆ



                   11.  ฯลฯ  ไปยาลใหญ         ใชละขอความตอนปลายหรือตอนกลาง เชน สัตว

                               (เปยยาลใหญ)  พาหนะ ไดแก ชาง มา วัว ควาย ฯลฯ



                   12.     ฯ  ไปยาลนอย        ใชละบางสวนของคําที่เนนชื่อเฉพาะและรูจักกันดีแลว

                               (เปยยาลนอย)  เชน อุดรฯ กรุงเทพฯ



                   13.     ”  บุพสัญญา         ใชเขียนแทนคําที่ตรงกันกับคําขางบน

                                               เชน  ซื้อมา 3 บาท


                                                     ขายไป 5”


                   14.     ๏  ฟองมัน           ใชเขียนขึ้นตนบทยอยของคํารอยกรอง


                                               ปจจุบันไมนิยมใช


                   15.         มหรรถสัญญา      ขึ้นบรรทัดใหมใหตรงยอหนาแรก


                               หรือยอหนา
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67