Page 69 - คณิตศาสตร์ประถม
P. 69

63



               เรื่องที่  10   การแยกตัวประกอบ

                         พิจารณาการเขียน 12 ในรูปผลคูณของตัวประกอบสองตัวที่ไมมีตัวใดเปน 1

                                 12   =  2 × 6   หรือ         12   =  3  × 4

                         เนื่องจาก 6 และ 4 ไมเปนตัวประกอบเฉพาะ ดังนั้น เราสามารถเขียน 6 และ 4
                    ในรูปผลคูณของตัวประกอบ ตอไปไดอีก ดังนี้

                                 12   =  2 × 6   หรือ         12   =  3  × 4
                                        =  2 × 2 × 3              =  3  × 2 × 2

                  เมื่อเราเขียน        12   =  2 × 2 × 3  หรือ         12   =  3  × 2 × 2


                  จะเปนการเขียน 12 ในรูปผลคูณของตัวประกอบเฉพาะ



               เขียนจํานวนในรูปผลคูณของตัวประกอบเฉพาะเรียกวา การแยกตัวประกอบ


                  ตัวอยาง     จงแยกตัวประกอบของ 20

                  วิธีทํา             20     =   4 × 5

                                              =   2 × 2 × 5

                               แยกตัวประกอบของ 20 ไดเปน 2 × 2 × 5
                        ตอบ   20  = 2 × 2 × 5

                  ตัวอยาง     จงแยกตัวประกอบของ 48

                  วิธีทํา             48      =  3 × 16
                                              =  3 × 2 × 8

                                              =  3 × 2 × 2 × 2 × 2

                               แยกตัวประกอบของ 48 ได 3 × 2 × 2 × 2 × 2
                               หรือ 3 × 2
                                        4
                        ตอบ  48  = 3 × 2 × 2 × 2 × 2 หรือ 3 × 2
                                                         4
                        จํานวนที่คูณกับตัวเองหลาย ๆ ครั้ง เชน 2 × 2 × 2 × 2 สามารถเขียนในรูปเลขยกกําลัง
                 ไดเปน 2  อานวา สองยกกําลังสี่
                        4
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74