Page 53 - FruitOfThailand
P. 53
ลองกอง ชื่อสามัญ Longkong ชื่อวิทยาศาสตร์ Lansium domesticum Corr จัดเป็นพืชที่อยู่ ในชนิดเดียวกันกับลางสาดและลูกู หรือ ดูกู (Duku) โดยจัดอยู่ในวงศ์ MELIACEAE เช่นเดียวกับ กระท้อน กัดลิ้น ตะบูนขาว และสะเดา
ลองกอง ลองกอง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ ว่า ลังสาดเขา (นครศรีธรรมราช) ส่วนชื่อลองกองนั้นมาจากชื่อพื้น เมืองจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี[1] [2]
ผลไม้ลองกอง ในหมู่เกาะชวา เกาะมลายู ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และทางภาคใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดนราธิวาส และยังมีในประเทศทาง แถบซูรินัม เปอร์โตริโก ออสเตรเลีย และฮาวาย โดยประเทศไทยสามารถผลิตลองกองที่มีคุณภาพได้ ดีที่สุด เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมในการปลูกที่เหมาะสม ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด สูง โดยแหล่งเพาะปลูกลองกองใน ประเทศส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ รองลงมาคือภาคตะวันออก ส่วนภาคเหนือและภาคกลางก็มีปลูก อยู่บ้างเล็กน้อย[
ประโยชน์ของลองกอง
(เมล็ด)[1] ช่วยลดความร้อนในร่างกาย ป้องกันไม่ให้เป็นไข้ตัวร้อน และยังช่วยลดอาการร้อนในช่องปากได้ ด้วย (เนื้อลองกอง)[1]
เมล็ดรักษาอาการไข้ (เมล็ด)[1] มกี ารนา เปลอื เปลอื กตน้ กตน้ มาสกดั เพอ่ื ใชเ้ปน็ ยารกั ษาโรคมาลาเรยี (เปลอื กตน้ กตน้ )[1] )[1] )[1] ใบลองกองมีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียได้ถึง 50% (ใบ)[1] เมล็ด มีฤทธิ์ยับย้ังเช้ือมาลาเรียและยับย้ังการเจริญของปรสิตมาลาเรีย (Plasmodium falciparum) ได้ถึง 50% (เมล็ด)[1] ใช้สูดดมเพ่ือช่วยบรรเทา อาการของผู้ป่วยท่ีเป็นวัณโรค (เปลือกผล)[3] น้�าจากผลมีการน�าไปใช้หยอดตาเพื่อช่วยรักษาอาการตาอักเสบ (น้�า จากผล)[3] เปลือกต้นลองกองสามารถน�ามาใช้เป็นยาต้มกินเพ่ือช่วยรักษาโรค (เปลือกต้น)[1] [2]
ใช้เป็นยารักษาโรคกระเพาะ (ก่ิง)[3] (เมล็ด)[1] (เปลือกต้น ใบ)[3] ในเปลือกมีสารประเภท Oleoresin การรักษาโรคท้องร่วง อาการปวดท้อง (เปลือกผล)[1] เมล็ดใช้เป็นยาขับพยาธิ (เมล็ด)[1] [2]
สารสกดั จากเปลอื กตน้ กตน้ สามารถชว่ ยแกพ้ ษิ แมงปอ่ งได้ (เปลอื กตน้ กตน้ )[1] )[1] ใช้เป็นยาสมานแผล (เปลือกต้น)[1] ส่วนเมล็ดมีฤทธิ์เป็นยาฝาดสมาน (เมล็ด)[1] โดยท่ัวไปจะนิยมรับประทานเป็นผลไม้สด ให้รสชาติหวานอร่อย อีกทั้ง ยังมีคุณค่าทางอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอีกด้วย[1] [3] มีประโยชน์ใน การใช้ไล่ยุงได้[1] [3] ได้ ได้ เช่น ลูกอม แยมลองกอง ลองกองกวน ไวน์ ลองกอง ลองกอง ลองกอง ลองกอง ลองกอง เป็นต้น[1] [2]
เปลือกผลและเมล็ดมีส่วนประกอบของสารที่มีความส�าคัญทางการ แพทย์และทางด้านอุตสาหกรรม เน่ืองจากมีสาร Tannin อยู่เป็น จ�านวนมาก[3] มีการน�าส่วนผลของลองกองมาสกัดด้วยเอทานอลและละลายสาร สกัด สกัด 2-5% ในโพรไพลีนไกลคอล (Propylene glycol) เพ่ือใช้พัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายส�าหรับท�าเป็นเคร่ืองส�าอางส�าหรับผิวหนัง ซึ่งจากผลการทดสอบ 30 คน พบว่าสารสกัดจากลองกอง สามารถเพิ่มความชื้นกับผิวหนังและช่วยลดรอยด่างด�าได้อย่างมีนัย ส�าคัญทางสถิติ คุณค่าทางโภชนาการของลองกอง ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 66 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 15 3 กรัม
กรัม
โปรตีน 0 0 9 กรัม
กรัม
ไขมัน 0 0 0 1 กรัม
กรัม
เส้นใยอาหาร 0 0 0 3 กรัม
กรัม
80%
วิตามินเอ 15 หน่วยสากล
วิตามินบี วิตามินบี 1 0 0 0 0 08 มิลลิกรัม มิลลิกรัม วิตามินบี วิตามินบี วิตามินบี 2 0 0 0 0 04 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม วิตามินบี วิตามินบี 3 1 7 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม วิตามินซี 24 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 5 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 0 7 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม ธาตุฟอสฟอรัส 35 มิลลิกรัม มิลลิกรัม