Page 46 - 10 แนวทางพัฒนาเพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง (คู่มือปฏิบัติการ)
P. 46
หน้าที่ 45
ตัวอย่างรูปแบบการแก้ไขปัญหาภัยแล้งที่ประสบความส าเร็จ
โดยใช้งบการก่อสร้าง 500,000 บ. ราษฎรได้ประโยชน์ 600-700 ครัวเรือน
อ้างอิง : ดร.วรโชติ กล่อมจิต ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบลศรีบุญเรือง รักษาการต าแหน่งนายกองค์การ
บริหารส่วนต าบลศรีบุญเรือง โทร. 080-8639796
พื้นที่ต าบลศรีบุญเรือง อ าเภอชนบท ขก. ประกอบด้วยประชากร 8 หมู่บ้าน 1,039 ครัวเรือน อยู่ติดกับล าน้ าชี
เส้นแบ่งระหว่างอ าเภอชนบท และอ าเภอมัญจาคีรี ขอนแก่น ในฤดูน้ าหลากมวลน้ าล้นล าน้ าชีขึ้นท่วมหมู่บ้านและไหลเข้า
หนองกองแก้วพื้นที่ 7,900 ไร่ ไม่สามารถท านาปีได้ยามเข้าฤดูแล้งปริมาณน้ าในล าน้ าชีเหลือน้อยถึงน้อยที่สุดจนไม่
สามารถสูบน้ าท าระบบประปาหมู่บ้านได้ จึงเตรียมความพร้อมในการรับมือกับปัญหาภัยแล้งที่จะเกิดขึ้นในปีงบประมาณ
63 ด้วยการก่อสร้างฝายน้ าล้นแกนซอยซีเมนต์ขวางล าน้ าชี เพื่อกักเก็บน้ าไว้ในในการอุปโภค บริโภค
ร่วมบูรณาการกันกับองค์การบริหารส่วนต าบลศรีบุญเรือง
ก่อสร้างฝายที่บริเวณบ.ท่าม่วง ต.ศรีบุญเรือง อ.ชนบท จ.ขอนแก่น
ร่วมบูรณาการกันกับองค์การบริหารส่วนต าบลศรีบุญเรือง
ก่อสร้างฝายที่บริเวณ บ.กุดหล่ม ต.ศรีบุญเรือง อ.ชนบท จ.ขอนแก่น