Page 31 - 10 แนวทางใหม่เพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง
P. 31
หน้าที่ 30
6. รูปแบบการแก้ไขปัญหาภัยแล้งด้วยการก่อสร้างฝายต้นน า (แบบแกนซอยซีเมนต์)
ความสูงไม่เกิน 1 ม. ความกว้างล าน าไม่เกิน 10 ม.
ฝายชะลอน าถ าผาทิพย์ ต.ถ าวัวแดง อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ
วัตถุประสงค์
เพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้ าซึ่งหมายถึงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเดิมของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมด โดยเมื่อเริ่มต้น
จะต้องมี “น้ า” ซึ่งท าให้เกิดความชุ่มชื้นเพื่อให้วัฏจักรสิ่งมีชีวิตของสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ต้นน้ าให้ด าเนินต่อไปได้
อย่างยั่งยืน
ดังนั้น วิธีการสร้าง “ฝายต้นน าแบบแกนซอยซีเมนต์” จึงเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด ไม่มีมลภาวะประหยัดที่สุด
ยั่งยืนที่สุด กลมกลืนกับธรรมชาติที่สุด และสามารถด าเนินการได้ทันทีเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์โดยเร็วที่สุด ก่อนที่พื้นที่
ต้นน้ า (ต้นก าเนิดชีวิต) จะเสียหายไปอย่างถาวร
ข้อควรระวัง : การพิจารณาจุดก่อสร้างฝายต้นน้ าฯ โดยมีหลักส าคัญ ดังนี้
1) ไม่อยู่ในเขตหวงห้ามหรืออยู่ในเขตอนุรักษ์หรือพื้นที่ที่มีข้อห้ามตามกฎหมาย
2) ไม่ควรสร้างในพื้นที่ต้นน้ าที่มีล าน้ ามาพบกัน พื้นที่มีความสูงลาดชัน พื้นที่ในภูเขาเป็นที่แคบ
3) ห้ามก่อสร้างพื้นที่ต้นน้ าที่มีระบบนิเวศน์หรือสิ่งแวดล้อมที่มีความสมบูรณ์ดีอยู่แล้ว
* ควรสร้างในแหล่งป่าเสื่อมโทรมหรือแหล่งที่ป่าที่ถูกท าลายหรือได้รับความเสียหาย ฯ ทั งนี เพื่อเป็น
การฟื้นฟู ซึ่งจะต้องได้รับการอนุญาตให้ด าเนินการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายด้วย
ประโยชน์ที่ได้รับ
1) ฝายฯแบบแกนซอยซีเมนต์จะดูดซับความชุ่มชื้นให้อยู่ได้นานที่สุด
2) ความชุ่มชื้นช่วยป้องกันและบรรเทาความรุนแรงของการเกิดไฟป่า
3) ฝายฯแบบแกนซอยซีเมนต์ช่วยเพิ่มแหล่งน้ าซับในพื้นที่ต้นน้ า
4) ก าเนิดของแม่น้ าคือต้นน้ าและแม่น้ าจะยั่งยืนได้ย่อมขึ้นอยู่กับต้นน้ า
5) ฝายฯแกนซอยซีเมนต์คือค าตอบของการฟื้นฟูธรรมชาติและผืนป่าต้นน้ า
6) ฝายฯแบบแกนซอยซีเมนต์แบบขั้นบันไดท าให้ความชื้นกระจายตัวได้ดีที่สุด
7) การรักษาต้นน้ าเป็นการรักษาชีวิตและแหล่งอาศัยของชีวิตสัตว์ป่า
8) ช่วยบรรเทาปัญหาโลกร้อน ช่วยสร้างโอโซน ช่วงสร้างผืนป่า
9) ฝายต้นน้ าเป็นมิตรกับธรรมชาติ มีลาดสโลปบันไดปลาที่ปลาสามารถข้ามไปมาได้
10) เป็นแหล่งน้ าแหล่งอาหารให้แก่สัตว์ป่าทั้งหลายได้ด ารงชีวิตต่อไปอย่างยั่งยืน