Page 34 - 10 แนวทางใหม่เพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง
P. 34

หน้าที่ 33

                  7. รูปแบบการแก้ไขปัญหาภัยแล้งด้วยการก่อสร้างฝายในล าห้วย (แบบแกนซอยซีเมนต์)
                                   ความสูงไม่เกิน 2 ม. ความกว้างของล าห้วยไม่เกิน 20 ม.
























                                     ฝายชะลอน  าห้วยวังผือ บ.วังผือ ต.ขามป้อม อ.เปือยน้อย จ.ขอนแก่น

                                                      วัตถุประสงค์

                            เมื่อเข้าสู่ฤดูแล้ง แหล่งน้ าผิวดิน น้ าในล าห้วยและล าน้ า ต่างก็ลดระดับลงเรื่อย ๆ หลายแห่งถึงกับแห้งขอด
          ท าให้ราษฎรในหลายพื้นที่เกิดความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการขาดแคลนน้ า

                              ระดับน้ าในล าห้วยและล าน้ าต่างก็มีความเชื่อมโยงกับระดับน้ าในแหล่งน้ าใต้ดินใกล้เคียง และในชั้นน้ าใต้
          ดินก็จะหนุนน้ าในแหล่งน้ าบนผิวดินด้วย
                              ดังนั้น  การสร้างฝายแกนซอยซีเมนต์เป็นช่วง ๆ ไปตามล าห้วยและล าน้ าเหมือนขั้นบันได โดยไม่ให้ขาด

          ช่วงหรือมีช่วงใดแห้งขอด จึงเป็นส่วนส าคัญในการเชื่อมโยงกับแหล่งน้ าดังกล่าวข้างต้นด้วย


                                                                   ประโยชน์ที่ได้รับ

                              1) เมื่อราษฎรได้รับประโยชน์จากฝายฯร่วมกัน นอกจากจะสร้างขวัญและก าลังใจแล้ว ยังท าให้ราษฎรมี

          ทัศนคติที่ดีต่อภาครัฐอีกด้วย
                              2) เป็นแหล่งน้ าดิบส ารองเพื่อการบริโภค - อุปโภค เพาะปลูกพืชใช้น้ าน้อย
                              3) ช่วยรักษาสภาพของล าน้ า อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความยั่งยืนสืบไป

                              4) ไม่เกิดปัญหาในเรื่องเงินงบประมาณ เนื่องจากฝายฯมีราคาประหยัด มีความมั่นคงแข็งแรง
          ดูแลรักษาได้ง่าย
                              5) ฝายแกนซอยซีเมนต์ช่วยหนุนระดับน้ าใต้ดินให้มีความมั่นคง จึงส่งผลให้ราษฎรใกล้เคียงมีแหล่งน้ า

          ส ารองใต้ดินไว้ใช้อย่างยั่งยืนด้วย
                              6) ระดับเก็บกักน้ าอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ า (2 ม.) จึงไม่มีผลกระทบใด (ตามหลักวิชาการ)
                             7) เทคนิคและวิธีการก่อสร้างไม่ยุ่งยากซับซ้อน ท้องถิ่นสามารถท าได้เอง ด้วยวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ

          ช่างทั่วไป
                             8) เนื่องจากฝายชะลอน้ าแบบนี้สร้างได้ง่าย เรียนรู้เผยแพร่ได้เร็ว สามารถกระจายสู่ท้องถิ่นได้เป็นจ านวน
          ที่มาก ด้วยความรวดเร็ว

                             9) ลดภาระของเขื่อนหลัก ลดความกังวลของภาครัฐ ด้วยราคาที่ประหยัดจึงมีฝายเก็บกักน้ ากระจายอยู่
          อย่างทั่วถึงทุกลุ่มน้ า
                           10) เกิดการต่อยอดเพื่อน าน้ าจากฝายฯขึ้นไปใช้ท าการเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ (เติมสระ) ท าให้เกษตรกร

          สามารถพึ่งพาตนเองได้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39