Page 27 - Merged-๒๐๑๘๑๑๐๙-๑๕๕๘๑๒
P. 27
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๔ สาขาการศึกษา มีมูลค่า ๗,๒๒๑ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๔ สาขา
อุตสาหกรรม มีมูลค่า ๖,๑๙๓ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๒ สาขาบริหารราชการแผ่นดินมีมูลค่า ๕,๙๑๗
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๖ และสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการปุาไม้มีมูลค่า ๕,๑๔๒ ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๐ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
เศรษฐกิจจังหวัดป๎ตตานีมีขนาดค่อนข้างเล็ก โดยมีขนาดใกล้เคียงกับจังหวัด นราธิวาส ยะลา และ
พังงา โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งจังหวัดป๎ตตานีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดมูลค่า ๔๖,๘๖๔ ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ ๔.๒ อยู่ในล าดับที่ ๘ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคใต้ และเป็นล าดับที่ ๒ ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้
ชายแดน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๖๑ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคใต้ชายแดน และคิดเป็น ๐.๓๓ ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ โดยมีขนาดใกล้เคียงกับจังหวัดนราธิวาส แต่มีสัดส่วนต ่ากว่าจังหวัดสงขลา
มากซึ่งมีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด มูลค่า ๒๑๙,๓๒๙ ล้านบาท หรือร้อยละ ๑๙.๕ เป็น ล าดับที่ ๑ ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๕๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคใต้ชายแดน นอกจากนี้
ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดป๎ตตานีมี อัตราการเปลี่ยนแปลงหดตัวร้อยละ ๓.๙ เมื่อเทียบกับ
ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ขยายตัวร้อยละ ๔.๗ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่หดตัวเพียงร้อยละ ๐.๓ ตามล าดับ ซึ่งมี
แนวโน้มอัตราการขยายตัวลดลงใกล้เคียงกับอัตราการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้
ชายแดนและภาคใต้แต่ขยายตัวต ่ากว่าของประเทศ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดป๎ตตานีเฉลี่ยต่อหัว (GRP/GPP Per Capita) ต ่ากว่าระดับประเทศ โดยปี
พ.ศ. ๒๕๕๗ จังหวัดป๎ตตานีมี GRP เฉลี่ยต่อหัว ๗๕,๓๗๘ บาท หดตัวร้อยละ ๔.๕ เมื่อเทียบกับ ปี พ.ศ.
๒๕๕๖ ต ่ากว่าระดับประเทศ และระดับภาคที่มีค่าเฉลี่ย ๑๙๕,๙๙๕ บาท และ ๑๒๓,๖๘๔ บาท ตามล าดับ
ด้านปศุสัตว์
สถานการณ์การเลี้ยงสัตว์ป๎จจุบันในจังหวัดป๎ตตานีเป็นการเลี้ยงโดยเกษตรกร รายย่อย เลี้ยงเพื่อ
การบริโภคภายในครัวเรือนและเหลือจ า หน่าย ในภาพรวมปริมาณสัตว์ เลี้ยงในปี ๒๕๕๘ ลดลงอัน
เนื่องมาจากผลกระทบที่เกษตรกรลดปริมาณจ า นวนพ่อแม่พันธุ์ ลง เหตุมาจากแรงจูงใจจากภาวะราคาสัตว์
สูงขึ้น มีการขายพ่อแม่พันธุ์ ควบคู่กับการบริโภค ภายในจังหวัดที่มีอัตราสูงขึ้น ท า ให้การเพิ่มปริมาณสัตว์
เลี้ยงลดลง โดยเฉพาะโค กระบือ แพะ และแกะ ส่วนสัตว์ปีกและสัตว์อื่น ได้แก่ ไก่เนื้อ เกษตรกรที่เลี้ยงคงที่
และเพิ่มปริมาณ สัตว์เลี้ยงมากขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีการสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์อย่างต่อเนื่องจากภาครัฐ ซึ่งเป็น
ที่ต้องการของประชาชนในพื้นที่ เช่น โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้แล้วก็ตาม ก็ยัง ไม่เพียงพอต่อการบริโภคใน
จังหวัด ซึ่งมีผลท า ให้ต้องน าสัตว์จากต่างจังหวัดเข้ามาในพื้นที่
ด้านประมง
ปริมาณสัตว์น ้าขึ้นท่าในปี พ.ศ.๒๕๕๘ จ านวน ๑๒๑,๘๕๖ เมตริกตัน มูลค่า ๑๐,๑๘๐ ล้านบาท
ปริมาณสัตว์น ้าขึ้นท่าลดลงจากปี พ.ศ.๒๕๕๗ จ านวน ๖,๓๐๘ เมตริกตัน แต่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ๑,๕๐๔ ล้าน
บาท เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดในภาคใต้จะมีปริมาณสัตว์น้ าขึ้นท่าเป็นอันดับ ๑ ของภาคใต้และมีมูลค่า
สัตว์น้ าเป็นอันดับ ๑ ของภาคใต้ทั้งนี้ เนื่องจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรการประมงของจังหวัด
ป๎ตตานี ซึ่งสัตว์น ้าที่จับได้จะใช้ประโยชน์ภายในจังหวัดส่วนหนึ่ง โดยน าไปใช้บริโภคสดและเป็นวัตถุดิบใน
โรงงานแปรรูปอาหารจากสัตว์น ้าและการแปรรูปในระดับพื้นบ้าน อีกส่วนหนึ่งจะส่งออกนอกจังหวัด
ป๎ตตานีทั้งจังหวัดใกล้เคียงในภาคใต้และภาคอื่นๆ ของประเทศเพื่อใช้บริโภคสดและเป็นวัตถุดิบในโรงงาน
เช่นเดียวกัน
การค้าการลงทุน
สรุปผลการด าเนินงานของส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดปัตตานี ประจ าปี ๒๕๖๑ 22