Page 30 - Merged-๒๐๑๘๑๑๐๙-๑๕๕๘๑๒
P. 30

สม่ าเสมอแต่มีปริมาณไม่มากนักโดยจะตกในช่วงบ่ายถึงค ่า ซึ่งแต่ละเดือนจะมีปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยอยู่

                  ระหว่าง ๙๐ - ๑๔๐ มิลลิเมตร ส า หรับปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีฝนตกในช่วงนี้ ๖๕๗.๕ มิลลิเมตร
                                ช่วงที่สองเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม เป็นช่วงที่ได้รับมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านอ่าวไทยเป็นช่วงที่มีฝนตกมาก โดยเฉพาะในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม
                  ปริมาณน ้าฝนสูงถึง ๓๐๐ - ๔๐๐ มิลลิเมตร ส าหรับปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีฝนตกใน ช่วงนี้ ๖๓๑.๕ มิลลิเมตร


                         อุณหภูมิ
                         เนื่องจากจังหวัดปัตตานีตั้งอยู่ในคาบสมุทรที่เป็นแหลมยื่นออกไปในทะเลจึงได้รับอิทธิพลจากลม

                  มรสุมอย่างเต็มที่คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากมหาสมุทรอินเดียและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัด
                  ผ่านอ่าวไทย ท าให้ได้รับไอน ้าและความชุ่มชื้นมาก อุณหภูมิเฉลี่ยจึงไม่สูงมากและอากาศไม่ร้อนจัดในฤดู

                  ร้อน และจะมีอากาศเย็นได้ในบางครั้งอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีในคาบ ๓๐ ปี (ปี ๒๕๒๔ - ๒๕๕๓) มีค่าอยู่ที่
                  ๒๗.๑ องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย ๓๒.๒ องศาเซลเซียส อุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ย ๒๓.๓ องศาเซลเซียส

                  ส าหรับปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มีอุณหภูมิเฉลี่ยมีค่าอยู่ที่ ๒๗.๕๓ องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย ๓๕.๒๑ องศา

                  เซลเซียส อุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ย ๒๑.๙๘ องศาเซลเซียส

                  ข้อมูลด้านศิลปและวัฒนธรรม
                  แหล่งเรียนรู้ด้านศาสนา

                         วัดช้างให้ เป็นวัดเก่าแก่ ที่มีอายุมากกว่า ๓๐๐ ปี ตั้งหมู่ที่ ๒ ต.ควนโนรี อ.โคกโพธิ์ ห่างจากตัว
                  จังหวัดประมาณ ๑๓ กิโลเมตร บนถนนสายนาเกตุ-ยะลา
                         วัดมัจลินทวาปีวิหาร (วัดตุหยง) ตั้งอยู่ที่อ าเภอหนองจิก เป็นวันเก่าแก่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
                  ภายในบริเวณวัดมีพิพิธภัณฑ์พระราชพุทธิรังษี (หลวงพ่อด า) มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ ที่

                  ส าคัญ ๆ มากมาย เช่น กุฏิเจ้าอาวาสอายุประมาณ อายุประมาณ 130 ปี อนุสาวรีย์ผู้สร้างวัด พระอุโบสถ
                  ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดสร้างขึ้นด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ได้
                  พระราชทานพระปรมาภไธยย่อ “จ.ป.ร.” ที่หน้าจั่วพระอุโบสถ ปรากฏจวบจนทุกวันนี้
                         มัสยิดกรือเซะ ตั้งอยู้ริมถนนสายป๎ตตานี – นราธิวาส ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒ บ้านกรือเซะ

                  หมู่ที่ ๒ ต าบลตันหยงลูโละ อ าเภอเมืองป๎ตตานีประวัติการสร้าง ประมาณพุทธศักราช ๒๒๖๕ สมัยอยุธยา
                  ตอนปลาย ตัวอาคารเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน เสาทรงกลม เลียนรูปลักษณะแบบเสากอธิคของยุโรป ช่อง
                  ประตูหน้าต่างที่ทั้งแบบโค้งแหลม และโค้งมนแบบกอธิค โดมและหลังคามีรูปทรงโค้งมน อิฐที่ใช้ก่อมี

                  ลักษณะเป็นอิฐสมัยอยุธยา ตรงฐานมัสยิดมีอิฐรูปแบบคลายอิฐสมัยทวารวดีปะปนอยู่บ้าง
                         มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี สร้างในปี พ.ศ.๒๔๙๗ มีลักษณะสวยงามยิ่ง รูปแบบเป็นตึกคอนกรีต
                  เสริมเหล็กสองชั้น ตั้งอยู่บนฐานทรงคล้ายกับวิหารที่ทัชมาฮาลของอินเดีย พื้นประดับด้วยหินอ่อนอย่าง
                  สวยงาม ตรงกลางเป็นอาคารมียอดโดมขนาดใหญ่ และมีโอมบริวาร ๔ ทิศ มีหอคอยอยู่สองข้างสูงเด่นเป็น
                  สง่า ตั้งอยู่ถนนยะรัง ต าบลจะบังติกอ อ าเภอเมืองป๎ตตานี อยู่ในความดูแลของปกครองจังหวัดป๎ตตานีและ

                  กรมการศาสนา

                  แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะ
                         จิตรกรรมฝาผนังวัดควนใน ตั้งอยู่ที่ต าบลบ้านควน อ าเภอปะนาเระ จิตรกรรมฝาผนังที่วัดควนใน
                  มี ๒ แห่ง คือ ที่อุโบสถและที่กุฏิเป็นภาพเขียนสีฝุุน


                  สรุปผลการด าเนินงานของส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดปัตตานี ประจ าปี ๒๕๖๑                 25
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35