Page 40 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 40

4. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงหน่วยเศรษฐกิจ


                       การด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นผู้บริโภค ผู้ผลิต หรือสถาบันการเงินต่างก็จ าเป็นจะต้อง

               แสวงหารายได้ เพื่อน ามาใช้จ่ายและหากมีเหลือจากการใช้จ่ายก็จะน าส่วนที่เหลือมาเก็บออม และเมื่อเงินที่

               เก็บออมไว้มีจ านวนมากพอ ก็จะน าไปลงทุนเพื่อให้ได้รับผลตอบแทนมากกว่าการออม ความสัมพันธ์ทาง

               เศรษฐกิจดังกล่าวอาจจะแยกให้เห็นในแต่ละหน่วยเศรษฐกิจ ดังนี้


                       1. ผู้บริโภคหรือครัวเรือน คือ กลุ่มที่มีสองสถานะในเวลาเดียวกัน กล่าวคือ สถานะหนึ่งจะเป็นผู้
               อุปโภคสินค้าและบริการ โดยเป็นผู้ใช้จ่ายเงินซื้อสินค้าและบริการจากฝ่ายผลิต ขณะเดียวกันก็จะเป็นเจ้าของ

               ปัจจัยการผลิตด้วย เช่น เป็นเจ้าของที่ดิน เป็นเจ้าของทุน รวมถึงเป็นผู้ขาย แรงงานในตลาดแรงงาน ดังนั้น

               อาจกล่าวโดยรวมได้ว่าครัวเรือนจะเป็นทั้งผู้บริโภคในตลาดสินค้า และเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตในตลาด

               ปัจจัยการผลิต


                       ผู้บริโภคจ าเป็นจะต้องแสวงหารายได้จากการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตด้วย เช่น เป็น เจ้าของที่ดิน

               เป็นเจ้าของทุน เป็นผู้ขายแรงงานในตลาดแรงงาน เมื่อผู้บริโภคได้รับรายได้ก็จะจัดสรรรายได้ส่วนหนึ่งไปใช้
               จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการจากฝ่ายผลิต หากผู้บริโภคมีรายได้เหลือก็จะน าไปสะสมด้วยการออม ซึ่งส่วนใหญ่

               จะอยู่ในรูปของเงินฝากกับธนาคารหรือบริษัทเงินทุน โดยได้รับดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทน และเมื่อผู้บริโภคเห็น

               ว่าการออมให้ผลตอบแทนน้อยก็จะน าเงินที่เก็บสะสมไว้ไปลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลหรือหลักทรัพย์ต่างๆ เพื่อ

               สร้างผลตอบแทนที่สูงกว่า การออม


                       2. ผู้ผลิตหรือหน่วยธุรกิจ คือ ผู้ท าหน้าที่น าปัจจัยการผลิต เช่น ที่ดิน แรงงาน ทุน มาเผลิตเป็นสินค้า

               และบริการออกระบบเศรษฐกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของตนในสังคม ส าหรับการแสวงหารายได้ของ

               ผู้ผลิตจะมีจุดมุ่งหมายที่ส าคัญคือ การแสวงหาก าไลสูงสุด และการที่จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นผู้ผลิตจะต้อง

               ตัดสินใจว่าจะเลือกผลิตสินค้าอะไร จ านวนเท่าใด และก าหนดราคาขายเท่าใด จึงจะท าให้ได้รับก าไรสูงสุด ซึ่ง
               การผลิตสินค้าและบริการจะต้องเกิดต้นทุนขึ้นเสมอ ต้นทุนนี้จะเป็นผลตอบแทนหรือเป็นรายจ่ายที่ผู้ผลิตต้อง

               จ่ายให้กับเจ้าของปัจจัยการผลิต เช่น จ่ายค่าแรงให้กับแรงงาน จ่ายค่าเช่าให้กับเจ้าของที่ดิน จ่ายดอกเบี้ย

               ให้กับเจ้าของเงินทุน ส่วนผลตอบแทนหรือรายได้ที่ผู้ผลิตได้รับคือ ก าไร หากผู้ผลิตมีต้นทุนต่ ากว่าผลตอบแทน

               หรือรายได้ที่ได้รับแล้วย่อมจะท าให้มีเงินออมมากขึ้น จากนั้นผู้ผลิตจะน าเงินออมนี้ไปฝากธนาคารหรือน าไป

               ลงทุนเพื่อซื้อสินค้าประเภททุน เช่น ที่อยู่อาศัย อาคารส านักงาน โรงงาน โกดังเก็บสินค้า เครื่องจักรกล

               วัตถุดิบต่างๆ ในการผลิตสินค้าและบริการเพื่อแสวงหากก าไรสูงสุดต่อไป


                       3. สถำบันกำรเงิน คือ องค์กรที่ด าเนินการเกี่ยวกับธุรกิจการเงินและให้สินเชื่อ โดยเฉพาะธนาคาร

               พาณิชย์เป็นสถาบันการเงินที่ให้บริการรับฝากเงินและการใช้ประโยชน์จากเงินนั้น ส าหรับการแสวงหารายได้
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45