Page 12 - บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
P. 12

19.5.3 สมมติฐานของเดอบรอยล์


                       เดอบรอยล์ได้เสนอแนวคิดขึ้นมาใหม่ว่า ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสดงสมบัติของอนุภาคได้ ดังนั้นอนุภาคก็

               แสดงสมบัติความเป็นคลื่นได้เช่นกัน ดังนั้นจึงได้สมการ ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัม กับความยาวคลื่น เขียนได้

                              ℎ
               เป็น      λ =
                                 
               19.6 กลศาสตร์ควอนตัม


                       การพัฒนาวิชากลศาสตร์ควอนตัม ชเรอดิงเงอร์ นักฟิสิกส์ชาวออสเตรียได้วิเคราะว่าตามสมมติฐานของเด

               อบรอยล์ อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคแต่สามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้ ดังนั้นสมการการเคลื่นที่ของอิเล็กตรอนควจจ

               คล้ายกับสมการคลื่น ชเรอดิงเงอร์จึงสร้างสมการเคลื่นของอเล็กตรอน ดดยแทนอิเล็กตรอนด้วยกลุ่มคลื่น (wave
                                                                ิ
               packet) ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วกลุ่ม (group velocity) ที่เท่ากับความเร็วของอนุภาค


               19.6.1 หลักความไม่แน่นอน


                       หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์กกล่าวว่าความไม่แน่นอนของต าแหน่งและความไม่แน่นอนของ
               โมเมนตัม มีความสัมพันธ์กันดังนี้


                                                   (Δ  )(Δ   ) ≥  ħ
                                                                 

               เมื่อ Δ   คือความไม่แน่นอนของต าแหน่ง


                    Δ    คือความไม่แน่นอนของโมเมนตัม
                        

                       สมการนี้แสดงขอบเขตจ ากัดของการวัดในธรรมชาติว่า ถึงแม้จะท าการวัดต าแหน่งและโมเมนตัมของ

               อนุภาคอย่างสมบูรณ์ที่สุด แต่ยังคงมความไม่แน่นอนเสมอ โดยผลคูณของความไม่แน่นอนของต าแหน่งกับความไม่
                                             ี
               แน่นอนของดมเมนตัมมีค่าอย่างน้อยเท่ากับหรือมากกว่า ħ เสมอ


               19.6.2 โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม


                       ตามหลักความไม่แน่นอนเราไม่สามารถระบุว่าอิเล็กตรอนนั้นอยู่ที่ใดได้อย่างแน่นอนหรือเคลื่อนที่ใน
               ลักษณะใด สามารถบอกได้เพยงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในที่ต่างๆว่าเป็นที่ใดเท่านั้น จากภาพกลุ่มหมอกโอกาส
                                        ี
               ที่จะพบอิเล็กตรอนรอบๆอะตอม เป็นไปได้หลายรูปแบบ เช่น อะตอมไฮโดรเจนที่มีระดับพลังงานต่ าที่สุด กลุ่ม

                                                                                 ุ
               หมอกเป็นทรงกลม ดังนั้นโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสจะเท่ากันในทกทิศทุกทาง
   7   8   9   10   11   12   13