Page 9 - บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
P. 9

โบร์ได้อธิบายการเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนว่า สเปกตรัมเส้นสว่างเกิดจากอเล็กตรอนเปลี่ยนวง
                                                                                            ิ
               โคจรจากวงโคจรที่มีระดับพลังงานสูงมายังพลังงานต่ า โดยปล่อยพลังานออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สามารถ

               ค านาณความถได้จากสมการ
                            ี่

                                                   ℎ   = |   −    |
                                                               
                                                                        
                                                                 
                                                                         


               19.4.2 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์


                                                                                               ๊
                       ฟรังก์และเฮิรตซ์ได้ท าการทดลองที่สนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์ โดยใช้หลอดบรรจุแกสที่มีความดันต่ า
               โดยปล่อยอิเล็กตรอนและมีขวฟ้าบวกส าหรับเร่งอิเล็กตรอน ความต่างศกย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า ท าให้อิเล็กตรอนมี
                                                                          ั
                                       ั้
                            ิ่
               พลังงานจลน์เพมขึ้น และเคลื่อนที่ไปกับอะตอมของไอปรอท ที่ฟรังก์และเฮิรตซ์ต้องการศึกษาการรับพลังงานของ
               อะตอม จากการทดลองสรุปได้ว่า พลังงานของอะตอมปรอทมีค่าไม่ต่อเนื่อง อะตอมปรอทไม่รับพลังงานที่ต่ ากว่า

               4.9 eV. แสดงว่า 4.9 eV. เป็นระดับพลังงานที่น้อยที่สุด เมื่ออะตอมปรอทได้รับพลังงาน จะขึ้นไปอยู่ในระดับ

               พลังงานสูงขึ้นถัดไป และ อะตอมปรอทจะลงมาในระดับพลังงานต่ า ซึ่งจะคายพลังงานออกมา 4.9 eV.ในรูปคลื่น
               แม่เหล็กไฟฟ้า


                       การทดลองกับธาตุอื่นก็ให้ผลคล้ายกับกรณีปรอท คือในการชนระหว่าง อิเล็กตรอนกับอะตอม อะตอมจะ

               ดูดกลืนพลังงานได้เพียงบางค่าเท่านั้น ซึ่งสนับสนุนกับแนวคิดของโบร์ที่ว่า พลังงานของอะตอมมีค่าไม่ต่อเนื่อง


               19.4.3 รังสีเอ็กซ์


                       เรินต์เกนผู้ค้นพบรังสีเอกซ์ จาการศึกษาต่อมาพบว่ารังสีเอ็กซ์สามารถทะลุผ่านวัตถุ ที่ไม่หนาจนเกินไป
                                          ็
               และมีความหนาแน่นน้อยได้ เช่น กระดาษ ไม้ เป็นต้น แต่ถ้าวัตถุนั้นมีความหนาแน่นมากก็จะมีอ านาจทะลุผ่าน

               ลดลง เมื่อรังสีเอกซ์ผ่านในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก จะไม่การเบี่ยงเบนใด ๆ แสดงว่ารังสีเอ็กซ์
                             ็
               เปลี่ยนคลื่นหรืออนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า โดยการเกิดรังสีเอ็กซ์มี2กระบวนการดังนี้

               1. การเกิดรังสีเอ็กซ์ต่อเนื่อง


               2. การเกิดรังสีเอ็กซ์เฉพาะตัว


               19.4.4 ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13