Page 5 - บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
P. 5
พิจารณาหยดน้ ามันมวล m ที่มีประจุไฟฟ้า q
จะได้ qE = mg
V
เมื่อ E คือ ขนาดของสนามไฟฟ้า ซึ่งหาได้จาก E =
d
-19
จากการทดลองกับหยดน้ ามันหลายชนิด พบว่าประจุ q ที่วัดได้เป็นค่าคงตัวเท่ากับ 1.6 x 10 คูลอมบ์
11
จากการวัดค่าอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลอิเล็กตรอนของทอมสันมีค่าเท่ากับ 1.76 x 10 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
-31
ดังนั้น มวลของอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 9.1 x 10 กิโลกรัม
19.2 แบบจ าลองอะตอม
สาระส าคัญ
จากการค้นพบอิเล็กตรอนท าให้ทราบว่าภายในอะตอมนั้นมีอนุภาคอิเล็กตรอนอยู่ จึงเกิดข้อสงสัยว่า
ภายในอะตอมมีโครงสร้างเป็นอย่างไร ซึ่งในสภาพปกติของอะตอมควรเป็นกลางทางไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์จึง
เสนอแนวคิดแบบจ าลองอะตอมต่างๆขึ้นมา
19.2.1 แบบจ าลองอะตอมของทอมสัน
อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม โดยเนื้อของอะตอมเป็นประจุไฟฟ้าบอก
และอิเล้กตรอนที่เป็นประจุไฟฟ้าลบจะกระจายอย่างสม่ าเสมอ โดยที่จ านวน
้
ของประจุไฟฟาบวกและลบมีจ านวนเท่ากัน จึงท าให้อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า
แบบจ าลองอะตอมของทอมสัน
19.2.2 แบบจ าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
รัทเทอร์ฟอร์ดทดลองโดยการยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นไมก้าพบว่า
อนุภาคแอลฟาสามารถทะลุผ่านไปได้แต่มีอนุภาคบางส่วนกระเจิงและ
เบี่ยงเบนออกจากแนวการเคลื่อนที่เดิม รัทเทอร์ฟอร์ดจึงสมมติฐานว่าภายใน
อะตอมอาจจะมีแกนกลางขนาดเล็กที่มีประจุไฟฟ้าบวกจ านวนมากมา
รวมกหรือที่เรียกว่า นิวเคลียส แบบจ าลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ั