Page 14 - ใบงาน
P. 14

ชื่อ....................................................................................................................... ชั้น ม.4/............  เลขที่ ...................



                                                         ใบงานที่ 3.1

                                                      เรื่อง   ปญหาสังคม


               คําชี้แจง : ใหนักเรียนศึกษาบทความที่กําหนดใหตอไปนี้ แลวตอบคําถาม




                       จากการสํารวจเชิงลึกโดยสหประชาชาติพบวา ในชั่วชีวิตหนึ่งของผูหญิงและเด็กผูหญิงทั่วโลก 1ใน 3 เคยถูกทุบตี
               ลอลวงหรือถูกลวงละเมิดโดยทุก 15 นาทีจะมี   ผูหญิงถูกขมขืน20คนและรอยละ40มีอายุไมถึง15 ป ซึ่งการกระทํา

               ดังกลาวถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรง ยิ่งไปกวานั้นผูหญิงสวนใหญไมกลาเอาเรื่องกับผูกระทําความรุนแรง
               เนื่องจากความหวาดกลัวการถูกซ้ําเติมจากสังคม


                       สําหรับประเทศไทยในชวงป  2547-2550 มีผูหญิงและเด็กที่ถูกทํารายเขารับความชวยเหลือจากทีมสห-วิชาชีพ
               ของศูนยพึ่งได(One Stop Crisis Centers:OSCC) ในโรงพยาบาลของรัฐจํานวน 297 แหงสูงขึ้นอยางตอเนื่องจากเฉลี่ยวัน

               ละ 19 คน เปนวันละ 52 คน ซึ่งสวนใหญเปนความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวที่มุงประสงคใหเกิดอันตรายตอรางกาย
               จิตใจของคนในครอบครัว จากสถิติในป  2550 โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พบวา สวนใหญ

               การกระทําความรุนแรงมักกระทําโดยสามีรองลงมา คือ แฟนหรือผูใกลชิด และผูรายตามลําดับ สวนสาเหตุของ การกระทํา
               ความรุนแรงพบมากที่สุดคือการนอกใจ รองลงมาคือเมาสุรา และเจตนาลอลวง นอกจากนั้นยังพบวาจํานวน

               ผูถูกกระทําความรุนแรงพบมากที่สุดในเขตภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และนอยที่สุดในภาคใต โดย
               พบวาสวนใหญ อยูในเขตเทศบาลมากถึงรอยละ 63.68 (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ขอมูลป 2550)


                       ผูหญิงและเด็กเปนเหยื่อความรุนแรงทางเพศ เพิ่มขึ้น ความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นไดทั้งจากครอบครัว และ
               ภายนอกบาน จากสถิติพบวา ระหวางป 2546-2550 ผูหญิงและเด็กตกเปนเหยื่อการขมขืนกระทําชําเราสูงขึ้น จากคดี

               ความผิดเกี่ยวกับเพศที่พิจารณาเสร็จไปในคดีอาญาของ ศาลชั้นตนและศาลเยาวชน ทั้งความผิดเกี่ยวกับการกระทําชําเรา
               และความผิดเกี่ยวกับการอนาจารมีจํานวนคดีเพิ่มขึ้น รอยละ 40   ในชวง 5 ป จากจํานวน 6,056 คดี เพิ่มเปนจํานวน
               10,094 คดี


                       นอกจากนั้น ยังมีคดีความผิดเกี่ยวกับการคาประเวณี ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี

               ที่มีแนวโนมลดลงในระหวางป 2547-2549 แตกลับมีแนวโนม  เหตุการณรุนแรงทางเพศเพิ่มขึ้นในป 2550 ทั้งนี้นับวา
               เปน ตัวเลขที่ยังต่ํากวาความเปนจริง เพราะยังมีเหตุการณรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นโดยเหยื่อไมมาแจงความอีกเปนจํานวน

               มาก (ขอมูลจากสํานักงานศาลยุติธรรมกระทรวงยุติธรรมขอมูลป 2550)






               1. จากบทความดังกลาว เปนปญหาสังคมในเรื่องใด


               ......................................................................................................................................................................................

               ......................................................................................................................................................................................
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19