Page 16 - ใบงาน
P. 16

ชื่อ....................................................................................................................... ชั้น ม.4/............  เลขที่ ...................



                                                         ใบงานที่ 3.2

                                                   เรื่อง   ปญหาการคอรัปชั่น


               คําชี้แจง : ใหนักเรียนศึกษาบทความที่กําหนดใหตอไปนี้ แลวตอบคําถาม




                       ปจจุบันปญหาคอรัปชั่นถือไดวาเปนปญหาใหญที่เกิดขึ้นในประเทศตางๆทั่วโลก ไมวาจะเปนประเทศที่พัฒนาแลว
               หรือประเทศที่ดอยพัฒนา และการคอรัปชั่นไดกลายมาเปนปญหาที่มีความสําคัญที่สุดปญหาหนึ่งของหลายประเทศ โดย
               ปญหานี้ยังไมมีทีทาวาจะหมดไป อีกทั้งยังทวีความรุนแรงและซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ แมวาหลายประเทศไดกาวเขาสูความ
               ทันสมัย มีระบบการบริหารราชการสมัยใหม มีการรณณรงคจากองคกรของรัฐหรือองคกรอิสระตางๆ อยางเชน องคการ

               สหประชาชาติ ธนาคารโลกและภาคประชาชน ที่ตางเห็นพองกันวาการคอรัปชั่นเปนปญหาที่นําไปสูความยากจน และเปน
               อุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาอยางแทจริง

                       จากผลการวิจัยพบวา ในแตละปพอคาและนักธุรกิจกวา 80 เปอรเซ็นตตองสูญเสียเงินใหกับการคอรัปชั่นเปน
               จํานวนสูงถึงเกือบ 3 แสนลานบาท ซึ่งเงินจํานวนนี้สามารถอํานวยประโยชนแกคนสวนใหญของประเทศได ทําใหรัฐตอง
               จายเงินงบประมาณสูงกวาที่เปนจริง ทําใหประชาชนตองไดรับบริการสาธารณะที่ไมมีคุณภาพ อีกทั้งยังทําใหนักลงทุนขาด
               ความเชื่อมั่นในระบบราชการไทยที่มักจะมีการใชอํานาจโดยมิชอบ


                       สําหรับประเทศไทย ปญหาคอรัปชั่นเกิดขึ้นในสังคมไทยมาชานานและมีแนวโนมที่จะมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
               และพบปญหาดังกลาวเกือบทุกภาคสวน ถึงแมรัฐบาลมีความพยายามปองกันและแกไขมาโดยตลอด แตดูเหมือนวาปญหา
               การคอรัปชั่นก็ไมไดถูกแกไขไดเทาใดนัก เนื่องจากการรายงานผลการจัดอันดับคาดรรชนีภาพลักษณคอรัปชั่นของประเทศ
               ไทยในอดีตตั้งแต ป พ.ศ.2541จนถึงป พ.ศ.2554 พบวา คาดรรชนีภาพลักษณคอรัปชั่นยังอยูในระดับต่ํานั่นคืออยูที่ ระดับ
               32 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน มาโดยตลอด ซึ่งเปนเครื่องชี้วัดที่สามารถสะทอนใหเห็นวา ประเทศไทยเปนประเทศที่มี
               ปญหาคอรัปชั่นในระดับที่สูงและมีแนวโนมที่จะสูงขึ้น ซึ่งนาเปนหวงอยางยิ่ง และทําใหเห็นถึงการดําเนินงานในการตอตาน
               การคอรัปชั่นของประเทศไทยที่ผานมาจนถึงปจจุบันนั้น ยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร ถึงแมวาประเทศไทยจะไดมี

               ความพยายามในการกําหนดและใชมาตรการในการปองกันและปราบปรามการคอรัปชั่นอยูอยางตอเนื่องมาโดย ดังนั้น
               รัฐบาลควรจัดใหปญหาการคอรัปชั่นนั้นเปนหนึ่งในวาระแหงชาติที่ทุกภาคสวนจะตองชวยกัน

                       นอกจากนี้ ในป พ.ศ.2558 ประเทศไทยจะกาวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย (AEC)  จึงตองเตรียมความพรอม
               ในหลายดานที่จะเปนผูนําในภูมิภาคนี้ แตในภาพรวมแลวประเทศในกลุมอาเซียนสวนใหญจํานวน 8 ประเทศ มีคะแนนต่ํา
               กวาคาเฉลี่ยดัชนีภาพลักษณคอรัปชั่นของโลก ดังนั้น ประเทศตางๆในกลุมอาเซียนจะตองรวมมือ และใชมาตรการขั้น
               เด็ดขาดที่จะมาแกไขปญหาดังกลาว มิเชนนั้นการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตคงไมประสบผลสําเร็จ

               เหมือนกลุมสหภาพยุโรปและยุโรปตะวันตกที่มีคาเฉลี่ยดัชนีภาพลักษณคอรัปชั่นอยูในระดับที่สูง

                       โดยสรุปประเทศไทยยังมีปญหาการทุจริตคอรัปชั่นอยูมาก และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทําใหสถาบันการเงินของ
               ไทยถูกลดความเชื่อถือในสายตาชาวโลก การทําธุรกรรมทางการเงิน ในระดับนานาชาติจะยากขึ้นเพราะไมมีความนาเชื่อถือ
               ซึ่งจะสงผลเสียตอการพัฒนาประเทศดวย

               ที่มา:จารุวรรณ สุขุมาลพงษ. 2556. แนวโนมของคอรัปชั่นในประเทศไทย.กรุงเทพฯ :สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฏร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21