Page 16 - คู่มืออบรม Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer เพื่อฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบ ( Master Trainer) สำนักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ
P. 16

11

                       3. การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยสําหรับผู้สูงอายุ

                           การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยสําหรับผู้สูงอายุ จะเน้นในเรื อง การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัย
               สําหรับผู้สูงอายุ คือ ภาวะสุขสมบูรณ์ของผู้สูงอายุ อีกทั งเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุทั วโลก

               การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยสําหรับผู้สูงอายุ จะต้องประกอบไปด้วย การมีสุขภาพดี (Health) การมีส่วนร่วม

               (Participation) และการมีหลักประกันและความมั นคง (Security) ดังนั น การให้ความรู้ ความเข้าใจเพื อการดูแล

               ผู้สูงอายุให้มีสุขภาพและสุขอนามัยที ดี จึงควรที จะต้องให้ความรู้ ความเข้าใจเกี ยวกับเรื องดังต่อไปนี
                              1) การเปลี ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ

                              2) สุขภาพอนามัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสําหรับผู้สูงอายุ

                              3) ที อยู่อาศัยที เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ
                              4) กฎหมายที ควรรู้และสิทธิสําหรับผู้สูงอายุ

                              5) การใช้สมาร์ทโฟน (Smartphone) เพื อการสื อสารสําหรับผู้สูงอายุ

                       4. การดูแลและป้ องกันโรคที ไม่ติดต่อเรื อรัง (NCDs : Non – Communicable Diseases)

                         โรคกลุ่ม NCDs เป็นโรคที เกี ยวกับนิสัยหรือพฤติกรรมการดําเนินชีวิต ซึ งโรคกลุ่มนี จะค่อย ๆ สะสม
               อาการ ค่อยเกิด ค่อยทวีความรุนแรง และเมื อมีอาการของโรคแล้วจะเกิดการเรื อรังของโรคตามมาด้วย ถ้าไม่ได้

               รับการรักษาที ถูกต้องและทันเวลา จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดําเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง และ

               พบว่าผู้ป่วยจํานวนมากเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มนี   NCDs เป็นโรคที เกิดจากนิสัย หรือพฤติกรรมการดําเนินชีวิต

               การกิน การนอน การพักผ่อน การออกกําลังกาย และการทํางานต่าง ๆ โรคในกลุ่มนี จึงได้แก่ โรคเบาหวาน
               โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื อรัง โรคไขมันในเลือดสูง โรคมะเร็ง

               โรคทางพันธุกรรม โรคตับแข็ง และโรคสมองเสื อม (อัลไซเมอร์) ดังนั น จึงควรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื อง

               ดังต่อไปนี  คือ
                              1)  ความหมายของโรคไม่ติดต่อเรื อรัง

                              2)  สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื อรัง

                              3)  ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื อรัง

                              4)  การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื อรัง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21