Page 17 - วิทยาศาสตร์ม.ปลาย
P. 17

17


                          เทคโนโลยีก่อเกิดผลกระทบต่อสังคมและในพื้นที่ที่มีเทคโนโลยีเข้าไปเกี่ยวข้องในหลายรูปแบบ

                   เทคโนโลยีได้ช่วยให้สังคมหลาย ๆ แห่งเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นซึ่งรวมทั้งเศรษฐกิจโลกใน
                   ปัจจุบัน ในหลาย ๆ ขั้นตอนของการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีได้ก่อให้ผลผลิตที่ไม่ต้องการ หรือเรียกว่า

                   มลภาวะ เกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเป็นการท าลายสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีหลาย ๆ อย่างที่ถูก

                   น ามาใช้มีผลต่อค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคม เมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึ้นก็มักจะถูกตั้งค าถามทาง
                   จริยธรรม

                          เทคโนโลยีที่เหมาะสม

                                ค าว่าเทคโนโลยีที่เหมาะสม  หมายความถึงเหมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม  และความต้องการ

                   ของประเทศ เทคโนโลยีบางเรื่องเหมาะสมกับบางประเทศ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวะของแต่ละประเทศ
                          1. ความจ าเป็นที่น าเทคโนโลยีมาใช้ในประเทศไทย ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร รายได้จาก

                   ผลผลิตทางการเกษตรมีมากกว่ารายได้อย่างอื่น และประมาณร้อยละ 80  ของประชากรอาศัยอยู่ในชนบท

                   ดังนั้นการน าเทคโนโลยีมาใช้จึงเป็นเรื่องจ าเป็น  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีทางการเกษตร สินค้าทาง

                   การเกษตร ส่วนใหญ่ส่งออกจ าหน่ายต่างประเทศในลักษณะวัตถุดิบ เช่น การขายเมล็ดโกโก้ให้ต่างประเทศ
                   แล้วน าไปผลิตเป็นช็อคโกแลต  หากตั้งโรงงานในประเทศไทยต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการ

                   พัฒนาการแปรรูป

                          2.  เทคโนโลยีที่เหมาะสม  มีผู้รู้หลายท่านได้ตีความหมายของค าว่า “เหมาะสม”  ว่าเหมาะสมกับ
                   อะไรต่อเศรษฐกิจระยะเวลาหรือระดับเทคโนโลยีที่เหมาะสม คือ  เทคโนโลยีที่สามารถน ามาใช้ให้เกิด

                   ประโยชน์ต่อการด าเนินกิจการต่าง ๆ และสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ สภาพแวดล้อม

                   วัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และก าลังเศรษฐกิจของคนทั่วไป
                        เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

                        1.  การตัดต่อยีน (genetic  engineering)  เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant  DNA)  และ

                   เทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)

                        2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ และ/หรือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (cell and tissue culturing) พืช และสัตว์
                        3. การใช้ประโยชน์จุลินทรีย์บางชนิดหรือใช้ประโยชน์จากเอนไซม์ของจุลินทรีย์

                     เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

                           ได้แก่การพัฒนาการเกษตร ด้านพืช และสัตว์ ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ

                          1.  การปรับปรุงพันธุ์พืชและการผลิตพืชพันธุ์ใหม่ (crop lmprovement) เช่น พืชไร่    พืชผัก ไม้ดอก
                          2.  การผลิตพืชพันธุ์ดีให้ได้ปริ มาณมาก ๆ ในระยะเวลาอันสั้ น ในระยะเวลาอันสั้ น

                   (micropropaagation)

                          3. การผสมพันธุ์สัตว์และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (breeding and upggrading of  livestocks)
                          4. การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (biological pest control) และจุลินทรีย์ที่ช่วยรักษาสภาพแวดล้อม

                          5.การปรับปรุงขบวนการการผลิตอาหารให้มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22