Page 9 - สานพลัง ฉบับ ธันวาคม 2562
P. 9

เปน็ ยคุ ของการแบง่ ปนั (Collaborative) ซ่ึงมีจุดเด่นคือ มีกฎและแนวทางการ ทาํา งานทเ่ี ปดิ เผย ชดั เจน และโปรง่ ใสตาม บทบาทหน้าที่ของตัวเอง
“ผมว่าไม่เฉพาะองค์กรธุรกิจแต่ โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐจาเป็นต้อง ปรับตัว ผู้บริหารต้องเรียนรู้เพื่อให้เกิด ทักษะจะช่วยให้เห็นภาพรวมได้ สาหรับ ประเทศไทยสงิ่ ทย่ี ากทสี่ ดุ คอื วฒั นธรรม องค์กรที่ยังถูกครอบอยู่ ผมไม่ได้ หมายความว่าของเก่าไม่ดีเพียงแต่ว่า เมื่อสถานการณ์ของโลกเปล่ียน เราก็ ต้องเปล่ียนวิธีคิดเช่นกัน มิฉะนั้นเรา จะเดินหน้าไม่ได้” ดร.ณัฐวุฒิ กล่าว
เมื่อบริบทเปล่ียน วิธีการขับเคลื่อน “สังคมสุขภาวะ” จะทาอย่างไร
แม้ด้านสุขภาพและการให้บริการ ทางการแพทย์ เทคโนโลยีดิจิทัลก็ได้ เข้ามามีบทบาท มีการพัฒนาหุ่นยนต์ ผ่าตัดที่มีความแม่นยําา การปรับปรุง พัฒนาจีโนมิกส์เพ่ือการรักษารวมถึง
การผลิตกําาลังคนด้านสุขภาพท่ีมีการนําา เทคโนโลยี AI มาใช้ ดังน้ันเวทีสมัชชา สุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๒ จึงมีแนวคิด ทวี่ า่ “กา้ วทนั การเปลย่ี นแปลง... สกู่ าร พัฒนาสังคมสุขภาวะ” เพื่อส่ือสารเป็น นยั ของการเปลยี่ นแปลงทตี่ อ้ งกา้ วใหท้ นั
“สมชั ชาสขุ ภาพครง้ั ท่ี ๑๒ ตอ่ เนอื่ ง กับครั้งที่ ๑๑ ที่ผ่านมา ซึ่งมีแนวคิด “รู้เท่าทันสุขภาพ ร่วมสร้างสังคม สขุ ภาวะ” เมอื่ รเู้ ทา่ ทนั กจ็ ะสามารถกา้ ว ทันความเปล่ียนแปลงได้ด้วยวิธีคิด วิธี การทา งาน การทเ่ี ทคโนโลยถี กู พฒั นาให้ ฉลาดข้ึน และช่วยอานวยความสะดวก ให้กับมนุษย์ เพียงแค่มีโทรศัพท์มือถือ เคร่ืองเดียวก็ใช้ชีวิตได้สบาย จะดูหนัง ฟังเพลง หรือโทรส่ังอาหารมาเสิร์ฟถึง บ้าน ส่ิงเหล่าน้ีทาให้มนุษย์มีกิจกรรม ทางกายลดลง และมีแนวโน้มเกิดโรคไม่ ติดต่อเร้ือรังเพิ่มข้ึน ที่น่ากังวลคือ การ เข้าสู่สังคมสูงวัยถ้าไม่มีการส่งเสริม ป้องกัน ประเทศจะมีภาระทางด้านการ เงิินและการคลังฉะน้ันเราต้องเอา
การนําาทบทวน วิถีเพศภาวะ: เสรมิ พลงั สุขภาวะครอบครัว เป็นเรื่องใหม่ แตเ่ ปน็ ประเดน็ ทอี่ ยใู่ นความสนใจเพราะ สังคมมีความเปล่ียนแปลงไปมาก รวมถึงให้การยอมรับเพศอื่นที่ไม่ได้มี เพียงเพศหญิงกับชายเท่านั้น รวมพลัง ชุมชนต้านมะเร็ง สาเหตุของโรคมะเร็ง เกิดจากสารเคมี มลภาวะ พฤติกรรม การบริโภค แม้ว่าจะมีรณรงค์และ สร้างศูนย์บริการ และขยายโรงพยาบาล มากข้ึน แต่ผู้ป่วยโรคมะเร็งกลับเพิ่ม มากขึ้น ฉะนั้นวิธีป้องกันที่ดีจึงน่าจะ ใหช้ มุ ชนเขา้ มาชว่ ยดแู ล และการจดั การ เชงิ ระบบสปู่ ระเทศใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล โดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง แม้ว่าเร่ืองยา จะมีการจัดการเชิงระบบ แต่การใช้ยา ก็ยังเป็นไปอย่างไม่สมเหตุสมผล การ ซอื้ ยางา่ ยมาก มยี าตกคา้ งตามบา้ นผปู้ ว่ ย จําานวนมาก นับเป็นการสูญเสียทาง เศรษฐกิจที่ควรป้องกันได้ ฉะนั้นชุมชน จึงควรจะเป็นศูนย์กลางในการจัดการ เรอื่งนไี้ดด้กีวา่นอกจากน้ียงัมสีงิ่ทพ่ีเิศษ คอื มกี ลมุ่ คนรนุ่ ใหม่หรอื กลมุ่ “young ทาได้” เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
“ทาไมเราต้องสร้างสังคมสุขภาวะ ก็เพราะจะทาให้เกิดความมั่นคงท้ัง ในแง่เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและระบบ นิเวศ ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกัน ไดอ้ ยา่ งเปน็ สขุ มคี วามเสมอภาคกนั สงิ่ น้ี คือ Ultimate Goal หรือ ความฝัน อนั สงู สดุ แตก่ ารจะไปถงึ ตรงนน้ั ได้ ไมใ่ ช่ โดยหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง แต่ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน และ สมัชชาสุขภาพฯ เป็นเวทีหน่ึงที่จะทาให้ เกิดความร่วมมือที่จะพัฒนาให้เกิด นโยบายสาธารณะและช่วยผลักดัน ไปสู่การปฏิบัติสู่สังคมสุขภาวะ” ประธาน คจ.สช. กล่าว
  นพ.กิจจา เรืองไทย
เทคโนโลยีมาปิดช่องว่าง ตา่ งๆ เหลา่ น”ี้ นพ.กจิ จา เรืองไทย ประธานคณะ กรรมการจัดสมัชชา สขุ ภาพแหง่ ชาติ (คจ.สช.) ครง้ั ท่ี ๑๒ ปี ๒๕๖๒ กลา่ ว
ประธาน คจ.สช. ยงั กล่าวต่อไปอีกว่าสําาหรับ สมัชชาสุขภาพฯ ครั้งที่ ๑๒ ซ่ึงมีระเบียบวาระ ด้วยกัน ๔ เร่ือง เพ่ือหา ฉนั ทมติคอื มาตรการทา ให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน ซง่ึ เคยเปน็ มตใิ นปี ๒๕๕๓ แต่กระทั่งถึงปัจจุบันน้ี ประเทศไทยยงั ไมส่ ามารถ เป็นสังคมไร้แร่ใยหินจึงมี
 ฉบับ ๑๑๒ : ธันวาคม ๒๕๖๒
๙ 9






















































































   7   8   9   10   11