Page 10 - สานพลัง ฉบับ ธันวาคม 2562
P. 10

 บทบาทที่ต้องเท่าทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของ สช.
สําาหรับ สช. ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มี บทบาทหน้าที่ขับเคลื่อนนโยบาย สาธารณะด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ทม่ีีนพ.ประทปีธนกจิเจรญิเลขาธกิาร คณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ คนใหม่ ที่เพ่ิงเข้ามารับตําาแหน่งในเดือนตุลาคม ที่ผ่านมา ได้เห็นความสําาคัญของ เทคโนโลยีเช่นเดียวกัน
“ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีจะ ช่วยให้เรามองเห็นภาพข้างหน้าได้ชัด ขน้ึ ชว่ ยใหก้ ารทา งานมปี ระสทิ ธภิ าพสงู กว่าเก่า แม้แต่การทางานในพ้ืนที่ก็จะ ง่ายข้ึนด้วยระบบการส่ือสาร ซึ่งเป็น ปัจจัยที่ต้องคานึงถึงในการกาหนด นโยบายสาธารณะ” นพ.ประทปี กลา่ ว ใหค้ วามเหน็
เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ กล่าวเสริมถึงแนวทางการ ทําางานข้างหน้าว่า สช. นอกจากเป็น หน่วยงานที่มีบทบาทตาม พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้ว ยังมีงานอีกด้านซึ่งกําาหนดโดยสภาพ ปัญหาสังคม คือการสานพลังภาคี เครือข่ายและกระบวนการสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน เพ่ือลดช่องว่าง ความเหลื่อมล้ําา แก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งและภารกจิที่จะม่งุเนน้จากนคี้ือ
๑. การสร้างสนับสนุนเครือข่าย นิวเจน (New Gens) กลุ่มคนรุ่นใหม่ ท่ีจะมีบทบาทสําาคัญในอนาคต ท้ัง วิธีคิด การรวมตัวเป็นเครือข่ายท่ี ต่างจากคนรุ่นเก่า ซึ่งในงานสมัชชา สุขภาพแห่งชาติคร้ังท่ี ๑๒ จะมี การจัด Site Meeting สําาหรับกลุ่มคน
รุ่นใหม่ได้เข้ามา เรียนรู้ถึงปัญหา ประเทศ ระบบ โครงสร้าง รวมถึง บทบาทข้อเสนอ นโยบายสาธารณะ
๒. การเป็น องค์กรสมรรถนะ สูงหรือ Smart
Office ที่มีความคล่องตัวเพ่ือช่วย หนุนเสริมหน่วยงานรัฐท่ีทําาหน้าที่ ดา้ นระบบสขุ ภาพด้วยเทคโนโลยีและ งานด้านวิชาการ เพื่อกําาหนดนโยบาย สาธารณะด้านสุขภาพและสานพลัง ภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง
๓. บูรณาการภาคียุทธศาสตร์
อาทิ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีกลไก ในพ้ืนที่ สําานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (สปสช.) ที่เป็นกองทุน ขนาดใหญ่และมีผู้ใช้บริการกว่า ๔๗ ล้านคน สําานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีหน้าที่ ควบคุมปัจจัยเส่ียงโดยเสริมพลังให้กับ ภาคีเครือข่าย สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) (พอช.) ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มาบูรณาการเครื่องมือร่วมกันเพื่อ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๔. ปฏริ ปู เครอื่ งมอื สรา้ งสขุ ภาวะ
ประกอบด้วย สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพจังหวัด และสมัชชา สุขภาพเฉพาะพื้นที่/ประเด็น ให้มีผล เชิงปฏิบัติมากข้ึน ตลอดจนขยายการ มีส่วนร่วมของภาคส่วนที่ขาดหาย เชน่ องค์กรธุรกิจเอกชน กลุ่มคนรุ่นใหม่
นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ
ธรรมนญู วา่ ดว้ ยระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยเฉพาะ ธรรมนญู สขุ ภาพพน้ื ท่ี ใหเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื กําาหนดทิศทางการพัฒนาของท้องถิ่น และประชาชนในพนื้ ทแี่ ละการประเมนิ ผลกระทบด้านสขุ ภาพ (Health Impact Assessment: HIA) ให้เป็นเครื่องมือ ทางวิชาการ โดยร่วมกับสถาบันทาง การศึกษา
๕. สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
โดยเฉพาะมาตรา ๑๒ การทําาหนังสือ แสดงเจตนาเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล ในวาระสุดท้าย จะผลักดันเข้าสู่ระบบ บริการปกติของโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข และเร่ืองสิทธิ สุขภาวะกลุ่มวัย ให้มีความเป็นธรรม และเท่าเทียมกัน
ซึ่งทั้ง ๕ ภารกิจดังกล่าวนี้จะมี บทบาทที่เข้มข้นมากขึ้นนับจากน้ีไป
ในยุคท่ีการเปล่ียนแปลงทาง เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีผลต่อสภาพ เศรษฐกิจ สังคม หรือแม้แต่รูปแบบ ของการดําาเนินชีวิตท่ีต่างไปจากเดิม รวมถงึในด้านสุขภาพก็เช่นกันจําาเป็น ที่จะต้องเท่าทัน เพื่อก้าวทันกับการ เปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
 ๑๐ 10
 















































































   8   9   10   11   12