Page 39 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 39
28
1. สร้างมนุษยสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ปฏิบัติต่อบุคคลได้อย่างดีแม้มีธรรมชาติความแตกต่าง
3. ประยุกต์ความพอเพียงมาใช้ในการด าเนินชีวิตได้
ด้านคุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
1. มีความสุขุมรอบคอบ ช่างสังเกต และรู้จักคิด
2. มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองให้ยั่งยืนตามแนวของความพอเพียง
เนื้อหาสาระ(content)
มนุษย์มีอารมณ์ ความรู้สึก ค่านิยม ความเชื่อ ความคิดเห็น และบุคลิกลักษณะส่วนตัว
มนุษย์ไม่ใช่สิ่งของหรือเครื่องจักร สิ่งเหล่านี้จึงควรระลึกเสมอในการมีความสัมพันธ์และมีมนุษย
สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทั้งนี้ย่อมส่งผลต่อผลผลิตและประสิทธิภาพขององค์การ มนุษยสัมพันธ์จึงเป็น
การศึกษาใจคนเป็นส่วนใหญ่เป็นการเข้ากับคน เอาชนะใจคน ด้วยเหตุนี้ความสามารถเข้ากับคนได้จึง
เป็นสิ่งส าคัญมากในการด าเนินชีวิต (เสถียร มงคลหัตถี,2510 : 30)
ความล้มเหลวของชีวิต ความเป็นคนไร้คุณค่า สิ้นความหมาย ผู้ที่ล้มเหลวในการด าเนิน
ชีวิต คือ ผู้เข้ากับผู้อื่นไม่ได้ แม้จะมีความรู้ความสามารถสูงเพียงใด ถ้าไม่สามารถเข้ากับผู้อื่นได้ ทุกสิ่ง
ทุกอย่างที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นความรู้ความสามารถก็ไร้ความหมาย ในโลกนี้ไม่มีอะไรส าคัญยิ่งไปกว่า
มนุษย์ และในตัวบุคคลไม่มีอะไรส าคัญยิ่งไปกว่าจิตใจ (in the world there is nothing great but
man, in man There is Nothing great but mind) บุคคลจะท างานและอยู่ร่วมกันได้อย่างมี
ความสุขและราบรื่นเมื่อมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน สร้างสัมพันธภาพเป็นไปในทางลบจะไม่สามารถ
ท างานร่วมกันได้อย่างสงบสุข คนงานด้อยคุณภาพและอาจท าให้เกิดความแตกแยกในที่สุด ดังนั้นจึง
ควรมุ่งศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ เพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล อันจะเป็นผลต่อการด ารง
ชีวิตประจ าวันและการท างานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ (Ann Ellenson,1982 : 11)
มนุษย์กลับตัวได้อย่างดียิ่งและสามารถด ารงเผ่าพันธุ์ของตนไว้ได้จนถึงปัจจุบัน โทมาส
ฮอบส์ (Thomas Hobbes) กล่าวว่า “ธรรมชาติของคนนั้นป่าเถื่อน เห็นแก่ตัว ขี้โม้โอ้อวดตน ต่ าช้า
หยาบคาย เอาแต่ใจตัวเอง ยื้อแย่งแข่งดีกันโดยไม่มีขอบเขต อายุสั้น แต่ถ้าพบกับความทุกข์ยากแล้ว
คนจึงจะลดความเห็นแก่ตัวลงและสังคมจะช่วยให้เขาดีขึ้น”
2.1 ลักษณะธรรมชาติของมนุษย์