Page 92 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 92
81
ความส าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าครอบครัว เป็นการรวมตัวของกลุ่มคนที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน สมาชิกมี
การติดต่อสื่อสารกัน เอื้ออาทรต่อกัน มีกิจกรรมร่วมกัน ทั้งยังมีการควบคุมดูแลกันเอง เพื่อให้สมาชิก
ของชุมชนประพฤติตนอยู่ในกฎระเบียบที่ร่วมกันวางไว้ ถ้าชุมชนมีความเข้มแข็งจะสามารถบูรณาการ
แก้ปัญหา และพัฒนาทุกอย่างพร้อมกันได้ เช่น ปัญหาความยากจน ปัญหาสิ่งแวคล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรม ยาเสพติด โสเภณี โรคเอดส์ ทั้งยังสามารถ
ส่งเสริมการอนุรักษ์พัฒนาวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ ถือเป็นจุดร่วมของพลังชุมชนหรือเป็นกุญแจของการ
แก้ไขปัญหาทุกเรื่อง ส่งเสริมสนับสนุนให้มีองค์กรชุมชนหรือองค์กรของชาวบ้าน ให้ชุมชนมีการ
จัดการเรื่องของตนเองให้มากที่สุด รวมทั้งในเรื่องสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและปัญหาต่าง ๆ
ของชุมชน มีการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพีอชวยเหลือซึ่งกัน
3.9 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แรงจูงใจใฝ่ส้มฤทธิ์ในการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การมีความ
มุ่งมั่นที่จะพบความส าเร็จ ความทะเยอทะยาน ความสามารถ การคาดหวังในเป้าหมายสูง ความ
อดทน การมีแผนต่อการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในพ.ศ 2547 โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development
Programme : UNDP) ได้จัดท ารายงานการพัฒนาคน ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อเสนอ
แนวทางการพัฒนาประเทศและพัฒนาคนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดย
มีเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาน าทาง มีการเสนอข้อคิดเชิงนโยบายในด้านต่าง ๆ ตลอดจนแนวทาง
การน าไปประยุกต์ใช้ส าหรับประเทศไทย และได้มีการเผยแพร่คอผู้อ่าน 166 ประเทศทั่วโลก โดยมี
ข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6 ประการ ดังนี้
1. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่มีความส าคัญอย่างยิ่งส าหรับการขจัดความยากจนและการ
ลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของคนจน
2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานของการสร้างพลังอ านาจของชุมชน และการพัฒนา
ศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศ
3. เศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความรับผิตชอบต่อสังคมขององค์กร ด้วยการสร้างแนวปฏิบัติ
ในการท าธุรกิจที่เน้นผลก าไรระยะยาวในปริบทที่มีการแข่งขัน