Page 83 - บางบอนแดนดนถนนาร_Classical
P. 83

บทที่ 4



                                        วิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร


                                             ในการศึกษาบางบอนแดนดินถิ่นนารู





                       สาระสําคัญ...

                               1.  วิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรในการศึกษาบางบอนแดนดินถิ่นนารู มี 4 ขั้นตอน คือ

                       (1) การกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาจะเปนการตั้งคําถามเพื่อที่จะกําหนดประเด็นที่จะศึกษา

                       โดยคําถามนั้นตองเกี่ยวของกับ “ที่ตั้ง” เชน สิ่งนั้นอยูที่ใด เหตุใดจึงอยูที่นั่น และที่ตั้งนั้นมีความสําคัญ

                       อยางไร (2) การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนามและการสัมภาษณ จะเปนการ


                       รวบรวมขอมูล สืบคนจากเครื่องมือทางภูมิศาสตร รูปถาย รูปภาพทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม
                       ขอมูลเชิงสถิติ หรือขอมูลจากการบรรยายที่เปนประโยชนในการตอบคําถามตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว


                       (3) การนําขอมูลมาวิเคราะหและจัดหมวดหมูเปนการอธิบายและแปรผลขอมูลที่ไดผานการจัดการ
                       ตรวจสอบความถูกตอง ตลอดจนจําแนก จัดกลุมขอมูล จัดหมวดหมูเพื่องายตอการวิเคราะหแลว


                       นํามาเปนแนวทางในการตอบคําถาม และ (4)  การสรุปนําเสนอขอมูล เปนการสรุปและเขียนรายงานให
                       ตรงตามวัตถุประสงค โดยอางอิงหลักการ ทฤษฎี และกฎดวย จากนั้นเรียบเรียงขอมูลเพื่อการนําเสนอ


                               2.  วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตรในการศึกษาบางบอนแดนดินถิ่นนารูมี 5 ขั้นตอน คือ
                       (1)  การกําหนดประเด็นในการศึกษา เปนการกําหนดหัวขอหรือตั้งคําถามในเรื่องที่สงสัย สนใจใครรู


                       เชน ชุมชนของเรามีสถานที่สําคัญใดบาง บุคคลสําคัญในทองถิ่นเปนใคร มีผลงานสําคัญอยางไร เปนตน

                       (2)  การสืบคนและรวบรวมขอมูล เปนการรวบรวมหลักฐานขอมูล  ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่สนใจ

                       ตองการศึกษาจากแหลงขอมูลตาง ๆ การรวบรวมหลักฐานขอมูล ควรพยายามรวบรวมใหไดมากที่สุด

                       (3)  การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร เปนการตรวจสอบวาขอมูลที่ไดมาถูกตอง

                       นาเชื่อถือเพียงใด สอดคลองสัมพันธกันหรือไม หรือมีความขัดแยงกัน ขอมูลที่ขัดแยงกัน ตองนําไป

                       ตรวจสอบวาขอมูลใดนาเชื่อถือกวากัน (4)  การคัดเลือกและประเมินขอมูล เปนการสรุปขอเท็จจริงวา

                       ขอมูล หรือหลักฐาน ที่ไดมามีความหมายอยางไร หรือใหขอมูลอะไรแกเราบาง แลวนําขอมูลเหลานั้นมา

                       แยกประเภทเพื่อสะดวกในการนําไปใช และ (5)  การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88