Page 7 - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน คกก.พัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ปี 2561)
P. 7

หน้า 2



               ขณะที่ราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 กลุ่มสินค้าส่งออกที่มูลค่าขยายตัว เช่น ข้าว มันส าปะหลัง
               น้ าตาล ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ รถยนต์นั่ง รถกระบะและ

               รถบรรทุก ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และเครื่องจักรและอุปกรณ์ เป็นต้น กลุ่มสินค้าส่งออกที่มูลค่า

               ลดลง เช่น แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า ยางพารา และกุ้ง

               ปู กั้ง และล็อบสเตอร์ เป็นต้น

                          4)  ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 4.3 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 10.2 ในไตรมาสก่อน
               หน้า โดยการขยายตัวได้รับปัจจัยสนับสนุนที่ส าคัญจากสภาพอากาศ รวมทั้งปริมาณน้ าชลประทานและ

               ปริมาณน้ าฝนที่เอื้ออ านวยต่อการผลิต ซึ่งท าให้ผลผลิตต่อไร่ปรับตัวดีขึ้น รวมทั้งการขยายพื้นที่เพาะปลูกใน

               การผลิตพืชส าคัญ ๆ ผลผลิตสินค้าเกษตรส าคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ไม้ผล ยางพารา และปาล์ม

               น้ ามัน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม สุกร และมันส าปะหลังลดลง ส่วนดัชนีราคาสินค้า

               เกษตรลดลงร้อยละ 3.3 ตามการลดลงของราคายางพารา ราคาปาล์มน้ ามัน และราคากุ้งขาวแวนนาไม เป็น
               ต้น อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้าเกษตรหลายรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น ราคามันส าปะหลัง ราคาข้าวเปลือก

               และราคาข้าวโพด เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและ การปรับตัวดีขึ้นของดัชนีราคา

               สินค้าเกษตรส าคัญ ๆ ส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 1.3 รวม

               9 เดือนแรกของปี 2561 การผลิตภาคเกษตรขยายตัวร้อยละ 7.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 10.2
               ในช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตร

               ลดลงร้อยละ 7.3 และดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5

                          5)  สาขาอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 1.6 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในไตรมาส

               ก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 1.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ

               3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมส าคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น น้ าตาล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
               ยานยนต์ เครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้ในงานทั่วไป ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์คอนกรีต

               และปูนซีเมนต์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง จักรยานยนต์ เหล็กและเหล็กกล้า  เป็นต้น ดัชนีผลผลิต

               อุตสาหกรรมที่ลดลง เช่น ผลิตภัณฑ์จากยาสูบ เครื่องใช้ในครัวเรือน ผลิตภัณฑ์ยาง การทอผ้า เฟอร์นิเจอร์

               การต้ม การกลั่นและการผสมสุรา เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ การแปรรูปและการถนอมปลา น้ ามันและ
               ไขมันจากพืชและสัตว์ และการแปรรูปและถนอมเนื้อสัตว์ เป็นต้น อัตราการใช้ก าลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อย

               ละ 66.5 ปรับตัวลดลงจากร้อยละ 67.1 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน รวม 9 เดือนแรกของปี 2561 การ

               ผลิตสาขาอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.4 ในช่วงเดียวกันของปี

               ก่อนหน้า โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 68.5
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12