Page 81 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 81

๗๕


                                           ธรรมเนียมการสวดพระมาลัย


                                                                 ่
                       การสวดมาลัยเป็นประเพณีประจํางานศพ แตเดิมพระสงฆ์เป็นผู้สวดโดยจะสวดหลังจากท         ี่
                                                                                                ้
               สวดพระธรรมเสร็จแล้ว พระที่สวดมีจํานวน ๔ รูป หรือ ๑ เตียง ใช้ตาลป๎ตรบังหน้า ใชบทสวดจาก
                                                               ํ
               หนังสือพระมาลัยหรอทเรียกว่าพระมาลัยคําสวด (คาสอน) เนื้อหาเป็นธรรมะสั่งสอนให้ผู้ฟ๎งเกรง
                                     ี่
                                  ื
                                                                                              ี
               กลัวต่อบาป กลัวอกุศลกรรม การสวดมาลัยนอกจากเพื่อสั่งสอนสาธุชนแล้วยังเป็นวิธการแก้ความ
               เงียบเหงาในขณะเฝูาศพ และเพื่อให้เจ้าภาพหรือญาติผู้ตายทุเลาความเศร้าโศกด้วย

                                             ์
                                  ี่
               สําหรับผู้สวดมาลัยทเป็นคฤหัสถ คณะหนึ่งเรียกว่า "วงมาลัย" วงมาลัยวงหนึ่ง ๆ ควรจะมีประมาณ
                                                                                           ู่
               ๔-๖ คน เป็นแม่เพลง ๒ คน เรียกว่า "แม่คู่" หรือ "ต้นเพลง" ส่วนที่เหลือเป็นลูกค หรือ "คู่หู" ลูกคู่มี
                                                                                ้
               หน้าที่ร้องรบการสวดของแม่เพลงและจะมีการแสดงท่าทางประกอบดวย โดยทุกคนในวงจะร่วมกัน
                          ั
               แสดงท่าทางและเสียงประกอบให้เข้ากันกับบทที่สวด อาจมีขลุ่ยและรํามะนาเป็นเครื่องดนตรี

               ประกอบ การแตงกายส่วนใหญ่จะแต่งกายตามปกติ แตบางวงจะแตงกายตามเนอเรื่อง
                                                                   ่
                                                                              ่
                                                                                          ื้
                               ่
                                    ึ้
               การสวดมาลัยจะเริ่มขนหลังจากที่พระสวดพระอภิธรรมเสร็จแล้ว โดยเริ่ม "ตั้งนะโม" เพื่อเป็นการ
               สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และ "ไหว้คุณ" คือไหว้ครูอาจารยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทเคารพนับถอ
                                                                                        ี่
                                                                                                   ื
                                                                        ์
               ต่อจากนนจึงสวดบท "ในกาล" อนเป็นบทเริ่มเนอเรื่องในหนังสือพระมาลัย ที่เรียกว่าบทในกาลนน
                                                                                                         ั้
                                              ั
                                                            ื้
                        ั้
                                                  ึ้
                            ้
                         ึ้
                                                     ้
               เพราะคําขนตนของบทสวดในตอนนี้ขนตนว่า "ในกาลอันลับล้น" เป็นการเล่าประวัตของพระมาลัย
                                                                                             ิ
               ในการที่ได้โปรดสัตว์ทงหลายในสวรรค์และนรก ผู้ร้องบทนี้จะเป็นผู้ชาย เมื่อจบบทในกาลแล้วก็จะ
                                    ั้
                                                                                                 ุ
               ขึ้นบท "ลํานอก" หรือเรียกว่า "เรื่องเบ็ดเตล็ด" คือจะเป็นเรื่องจากวรรณคดีต่าง ๆ เชน ขนช้าง
                                                                                             ่
                                                                   ้
               ขุนแผน สังข์ทอง พระอภัยมณี อิเหนา จันทโครพ เป็นตน การแทรก "ลํานอก" เข้ามาก็เพื่อเปลี่ยน
                                                                                         ั
                                                              ี้
               บรรยากาศให้เกิดความสนุกสนาน ในบทลํานอกนอาจร้องเป็นทํานองเพลงลําตด เพลงนา หรือเพลง
                                                                                   ี้
                                                                                                        ื
               ฉ่อย ก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมว่าเป็นเป็นเพลง "ลําตด" ชาวบ้านมักเรียกบทนว่า "บทยักมาลัย" คือถอ
                                                            ั
                                             ั
               เป็นการพลิกแพลงตามความถนดของผู้เล่น แต่เดิมไม่มีการเล่นลํานอก หรือเล่นเบ็ดเตล็ด เพิ่งจะมี
               ขึ้นในภายหลัง เพื่อที่จะให้การสวดมาลัยมีความสนุกสนานเพิ่มขน
                                                                           ึ้
               ในสมัยก่อนการฝึกหัดหรือการซ้อมสวดมาลัยมีป๎ญหามาก เพราะการสวดมาลัยทํากันเฉพาะใน งาน
               ศพ หากฝึกหัดหรือซ้อมสวดมาลัยในบ้านถือว่าไม่เป็นมงคล ผู้ฝึกหัดหรือวงมาลัยจึงตองไปซ้อมหรือ
                                                                                              ้
                                    ุ่
                          ี่
               ฝึกหัดกันทขนํากลางทงนา ชายปุาช้า ในวัด หรือในโรงนา ไม่เป็นที่สะดวกนัก จึงทําให้ประเพณีการ
               สวดมาลัยคอย ๆ เสื่อมหายไปในป๎จจุบัน
                          ่
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86