Page 17 - local17.8.62new
P. 17
ประวัติชุมชนมุสลิมมัสยิดช้ำงเผือกเชียงใหม่
ชุมชนมุสลิมเก่ำแก่อีกชุมชนหนึ่ง เป็นที่รวมของชำวมุสลิมเชื้อสำยปำกี-อินเดีย
ซึ่งมีมุสลิมกลุ่มแรกประมำณ ๔-๕ ครอบครัว ที่อพยพมำจำกประเทศปำกีสถำนและประเทศ
อินเดีย เข้ำมำตั้งถิ่นฐำนอยู่บริเวณนี้ รู้จักกันโดยทั่วไปคือ ทุ่งเวสำลี เป็นที่อุดมสมบรูณ์น ้ำ
ท่วมไม่ถึง แต่จะมีน ้ำใหลผ่ำนอยู่ตลอดจำกห้วยแก้วและห้วยช้ำงเคี่ยน จึงเป็นที่เหมำะแก่กำร
เลี้ยงสัตว์ กำรเพำะปลูกพืชผักบำงชนิด
ในช่วงแรก มัสยิดช้ำงเผือกยังไม่มีกำรก่อสร้ำงมัสยิดเป็นอำคำรถำวร ดังนั้น กำรประกอบ
ศำสนกิจที่ส ำคัญของชำวมุสลิม คือ กำรนมำซวันคุกร์ ชำวมุสลิมในย่ำนำนี้จะเดินทำงไปนมำซที่
มัสยิดช้ำงคลำน เป็นประจ ำตลอดมำ ในเวลำต่อมำ ย่ำนนี้เป็นที่รู้จักกันมำกขึ้นในหมู่พ่อค้ำ
ทั้งหลำย ท ำให้มีชำวมุสลิมอพยพเข้ำมำตั้งถิ่นฐำนในบริเวณนี้มำกขึ้น ชำวปำกีสถำน-อินเดีย
และพ่อค้ำชำจีนมุสลิมยูนนำน ที่มีบทบำทส ำคัญในกำรก่อตั้งมัสยิดในย่ำนนี้ คือ ท่ำน นะปะ
ซำง หรือรู้จักกันดีในหมู่พ่อค้ำว่ำ “พ่อเลี้ยงเลำนะ” ท่ำนเป็นผู้ที่ค่อนข้ำงจะมีฐำนะ เศรษฐกิจดี
พอสมควร เป็นผู้น ำในกำรปรับปรุงและสร้ำงมัสยิดขึ้นใหม่ เป็นอำคำรที่ท ำด้วยไม้กระดำน
(จำกเดิมที่ท ำด้วย เสำไม้ใผ่ ฝำขัดแตะ หลังคำมุ้งด้วยใบตองและไม่มีพื้น) อำคำรนี้มีลักษณะ
มั่นคงถำวรยิ่งขึ้น และท่ำนได้รับเลือกให้ท ำหน้ำที่ให้เป็นผู้น ำศำสนำ (อีหม่ำม)
โรงเรียนเทศบาลวัดเชียงยืน