Page 13 - ท่องโลกประวัติศาสตร์สากล
P. 13
1.6 ด้านศาสนา
1.4 ด้านเศรษฐกิจ
ในด้านความเชื่อ คนในดินแดนเมโสโปเตเมียมีความเชื่อถือโชคลาง เทพเจ้าที่สถิตในธรรมชาติซึ่งมี
บรรดาชนเผ่าที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนเมโสโปเตเมีย ชาวสุเมเรียนนับว่ามีความเชี่ยวชาญด้าน
อยู่หลายองค์ ยกเว้นพวกฮิบรูซึ่งเป็นชนเผ่าที่นับถือพระ เจ้าองค์เดียว มีพระนามว่า “พระยะโฮ
เกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกข้าวสาลี และเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้แรงงานและท าผลิตภัณฑ์จากสัตว์เพื่อ
วาห์”ความเชื่อในศาสนาท าให้เกิดการสร้างศาสนสถาน เช่น ชาวสุเมเรียนน าดินเหนียวมาสร้างศา
บริโภค ได้แก่ เนื้อ นม เนย และใช้ขนสัตว์ที่ย้อมสีแล้วทอเป็นผ้าส าหรับนุ่งห่มและท าเป็นพรมใช้
สนสถานขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “ซิกกูแรต” เพื่อบูชาเทพเจ้าที่มีหลายองค์ เช่น เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า
ในชีวิตประจ าวัน การที่ชาวสุเมเรียนมีความรู้ในการค านวณและความรู้ทางดาราศาสตร์สามารถท า
ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ส่วนเทพเจ้าสูงสุด ได้แก่ เทพที่ควบคุมฤดูกาล สิ่งของที่น ามาบูชาเทพเจ้า
ปฏิทินแบบจันทรคติอาศัยคาบเวลาระหว่างดวงจันทร์วันเพ็ญ โดยก าหนดให้เดือนหนึ่งเฉลี่ยนาน
ได้แก่ โลหะ เงิน ทอง และสิ่งมีค่าอื่นๆ รวมทั้งการบูชายัญ
29วัน และแบ่งปีออกเป็น 12 เดือน ท าให้รู้เวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกและยังท าให้สามารถ
1.7 ด้านภาษาและวรรณกรรม
ก าหนดวันที่ควรจะออกเดินทางไปติดต่อค้าขาย เช่น การใช้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
การประดิษฐ์ตัวอักษรของชาวสุเมเรียนเมื่อประมาณ 2,500 ปีก่อนพุทธศักราชนั้น นักโบราณคดี
ดวงดาวเป็นเครื่องน าทางให้เดินไปถึงจุดหมายนอกจากนี้ความรู้ด้านการบวก ลบ คูณ และระบบ
เชื่อว่าชาวสุเมเรียนเป็นชนชาติแรกที่คิดประดิษฐ์อักษรได้ก่อนชนชาติอื่น ตัวอักษรดังกล่าวเรียกว่า
การชั่ง ตวง วัด ท าให้ชาวสุเมเรียนมีความสามารถในด้านการค้า เมื่อประมาณ 1,750 ปีก่อน
ตัวอักษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) หรืออักษรรูปลิ่ม มีลักษณะเป็นอักษรภาพเช่นเดียวกับอักษร
พุทธศักราช อาณาจักรบาบิโลนมีความมั่นคงทางการเมืองการปกครองและการค้า พ่อค้าเมโสโป
ภาพของชาวอิยิปต์ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องหมายรูปลิ่มจ านวนหลายร้อยตัว เขียนโดยการกดก้านอ้อ
เตเมียเดินทางค้าขายกับเมืองต่างๆในดินแดนเอเชียตะวันออกกลางไปจนถึงดินแดนที่ไกลออกไป
แหลมๆลงบนแผ่นดินเหนียวที่
ได้แก่ อินเดียและจีน โดยใช้โลหะ เงิน และทองค า ซื้อ-ขายสินค้าจ าพวกธัญพืช ผ้าและสินค้ามีค่า
ยังไม่แห้ง แล้วน าไปตากหรือเผาจนแข็ง อักษรรูปลิ่มนี้กลายเป็นต้นแบบตัวอักษรของโลกตะวันตก
อื่นๆ ท าให้อาณาจักรบาบิโลนกลายเป็นศูนย์กลางการค้าที่ส าคัญของโลกในยุคนั้น
คือ กรีกและโรมันในเวลาต่อมา จุดมุ่งหมายของการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มนี้เพื่ออ านวยความสะดวก
1.5 ด้านสังคม
ในการค้า และใช้ในการเขียนค าประพันธ์บทกวีต่างๆ ส่งผลให้คนในยุคนั้นรวบรวมเหตุการณ์และ
หลักฐานการจัดระเบียบสังคมในดินแดนเมโสโปเตเมีย ได้แก่ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีที่สะท้อน
ความรู้ต่างๆจดเป็นบันทึกไว้ให้คนรุ่นต่อมาได้มีหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ยุคนี้
ให้เห็นว่าโครงสร้างสังคมในดินแดนนี้ประกอบด้วยชนชั้นผู้ปกครอง ได้แก่ กษัตริย์ พระราชวงศ์และ
วรรณกรรมของชาวสุเมเรียนส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และชีวิตในทางเศรษฐกิจ ชาวเมโส
ขุนนาง กลุ่มขุนนางมีหน้าที่รับผิดชอบทั้งด้านการปกครองและศาสนา ส่วนคนที่ถูกปกครอง ได้แก่
โปเตเมียยังสร้างมหากาพย์เทพต านานและประวัติศาสตร์ เช่น คือ มหากาพย์กิลกาเมช บรรจุ
ช่างฝีมือ พ่อค้า ซึ่งเป็นชนชั้นกลาง ส่วนกรรมกรและทาสถือว่าเป็นชนชั้นต่ าในสังคม กฎหมาย
เรื่องราวเทพต านานที่เป็นหลักของตน โครงเรื่องที่เป็นหลักของกาพย์นี้ คือ ชัยชนะของกิลกาเมช
ฮัมมูราบีนับว่าทันสมัยในยุคนั้น คือ การรับรองสิทธิในทรัพย์สินของคนในสังคม และคนในสังคมมี
แสดงสัญลักษณ์ของมนุษย์เหนือธรรมชาติ 9
ความรับผิดชอบต่างกัน