Page 11 - ท่องโลกประวัติศาสตร์สากลกับครูพี่ฟรองซ์
P. 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
อารยธรรมของโลกยุคโบราณ
อารยธรรมตะวันตก
1.2 การตั้งถิ่นฐานของชาติพันธุ์ต่างๆ
มีแหล่งก าเนิดในดินแดนเมโสโปเตเมีย หมายถึง ดินแดนระหว่างแม่น้ า 2 สาย หรือแถบลุ่มแม่น้ าไทกริส
ผู้ตั้งหลักแหล่งพวกแรกของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย คือ พวกสุเมเรียน ภายหลังจากนั้นจึงมีพวก
และยูเฟรทีส ในตะวันออกใกล้ (ปัจจุบันคือ ประเทศอิรัก) และลุ่มแม่น้ าไนล์ ในประเทศอียิปต์ ซึ่งตั้งอยู่ทาง
เซมิติกและสาขา เช่น พวกฟินีเชียนอมอไรต์และฮิบรู พวกอินโด-ยูโรเปียน และสาขา ได้แก่
ตอนเหนือของทวีปแอฟริกา ปัจจุบันดินแดนทั้งสองแห่งนี้จัดอยู่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
พวกฮิตไตท์และเปอร์เซียน อพยพจากดินแดนตอนเหนือเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนเมโสโปเตเมีย
หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าอาณาจักรซูเมอร์ หรือชีนาร์ ที่ปรากฏชื่อในพระคัมภีร์ไบเบิล เป็นอู่ของอารย
ในเวลาต่อมา
ธรรมที่มีความเก่าแก่กว่าอียิปต์ ก าเนิดเมื่อประมาณ 3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช รวมทั้งเป็นจุดเริ่มต้นของ
สมัยประวัติศาสตร์ ดังความเห็นของนักประวัติศาสตร์ว่า ประวัติศาสตร์เริ่มขึ้นที่ซูเมอร์ เนื่องจากชาวซูเมเรีย
เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อบันทึกเรื่องราวต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็น “หลักฐาน” ส าคัญหรือหัวใจใน
การศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ และการแบ่งเส้นเวลาออกเป็น “สมัยก่อนประวัติศาสตร์” และ “สมัย
ประวัติศาสตร์
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ดินแดนเมโสโปเตเมีย คือบริเวณดินแดนที่ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ าไทกริส และยูเฟรติส หรือบริเวณประเทศอิรัก
ในปัจจุบัน เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองจนกลายเป็นอู่อารยธรรมที่ส าคัญของโลก ดินแดนแห่งนี้มีความ
อุดมสมบูรณ์เนื่องจากแม่น้ าทั้งสองสายท่วมท้นตลิ่งในฤดูใบไม้ผลิ เมื่อน้ าลดพื้นดินจึงเต็มไปด้วยโคลนตมที่
กลายเป็นปุ๋ยอันอุดมสมบูรณ์ ท าให้บริเวณนี้เหมาะแก่การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ดินแดนจากเมโสโปเตเมีย
ไปจนถึงชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจึงมีชื่อว่า ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์หรือวงโค้งแห่งความ
อุดมสมบูรณ์ 7