Page 14 - ท่องโลกประวัติศาสตร์สากลกับครูพี่ฟรองซ์
P. 14
1.8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปกรรม
ในดินแดนเมโสโปเตเมียได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆหลายอย่าง เช่น ชาวสุเมเรียนได้ประดิษฐ์คิดค้นล้อ
เกวียน ซุ้มโค้ง ซี่งช่วยท าให้อาคารแข็งแรงขึ้น แป้นหมุนที่ใช้ในการท าเครื่องปั้นดินเผา ความรู้ทางการ
ค านวณ การแบ่งชั่วโมงออกเป็น 60 นาที รู้จักท าส าริดโดยน าทองแดงมาหลอมกับดีบุก ท าเครื่องมือโลหะ
ที่ใช้ในการท าไร่ท านาชาวอัสสีเรียนเป็นชาติที่ช านาญในด้านการรบได้ผลิตอาวุธที่ท าด้วยโลหะ เช่น ดาบ
หอก ธนู โล่ และเกราะ รวมทั้งยุทธวิธีในการรบ เช่น การใช้ต้นซุงเข้ากระทุ้งก าแพงเมืองและรวบรวมต ารา
พิชัยสงคราม โดยเขียนไว้ในแผ่นดินเหนียวเป็นจ านวนมาก ผู้น าอัสซีเรียนได้ขยายการปกครองจนมีอาณา
เขตที่กว้างใหญ่ ในสมัยของพระเจ้าอัสซูร์บานิปาล ได้สร้างห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดขณะนั้นขึ้นที่เมืองนิเนเวห์ ซึ่ง 2. อารยธรรมอียิปต์
เป็นเมืองหลวงเป็นที่ส าหรับเก็บแผ่นจารึกดินเหนียวไว้ถึง 22,000 แผ่น ศิลปกรรมที่ส าคัญของชาวอัสซีเรียน 2.1 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
คือ ภาพสลักนูนต่ า ซึ่งแสดงชีวิตประจ าวันและการท าสงครามของชาวอัสซีเรียน ชาวสุเมเรียนยังสร้าง อารยธรรมลุ่มแม่น้ าไนล์หรืออารยธรรมอียิปต์โบราณก่อก าเนิดบริเวณดินแดนสองฝั่ง แม่น้ า
พาหนะที่มีล้อใช้สัตว์ลาก การประดิษฐ์ล้อลากเพื่อทุ่นแรง ซึ่งนับว่าเป็นพื้นฐานในการพัฒนาพาหนะประเภท ไนล์ ตั้งแต่ปากแม่น้ าไนล์จนไปถึงตอนเหนือของประเทศซูดานในปัจจุบัน
เกวียนและรถยนต์ในโลกจนถึงปัจจุบัน ชาวสุเมเรียนที่ตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ ต้องเผชิญกับน้ าท่วมจากการ ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและคาบสมุทรไซนาย
ไหลบ่าของแม่น้ าไทกริส– ยูเฟรติส ดังนั้นจึงต้องหาวิธีแก้ปัญหาโดยการขุดคลองระบายน้ าหรือท าท านบกั้น ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบียและทะเลทรายซาฮารา
น้ า นับเป็นความพยายามในการแก้ปัญหาโดยควบคุมธรรมชาติ ความรู้เกี่ยวกับเกษตรกรรมของพวกสุเม ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับทะเลทรายนูเบียและทะเลแดง
เรียนเป็นพื้นฐานแก่ชนเผ่าอื่นๆ เช่น พวกบาบิโลเนียนที่ได้สร้างสวนลอยมีต้นไม้เขียวขจีตลอดปี เรียกกันว่า จากสภาพภูมิอากาศดังกล่าวจะเห็นว่า บริเวณลุ่มแม่น้ าไนล์เปรียบเสมือนโอเอซิสท่ามกลาง
สวนลอยแห่งบาบิโลน สวนลอยแห่งกรุงบาบิโลนได้รับการยกย่องว่า เป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุค ทะเลทราย จึงเป็นปราการธรรมชาติป้องกันการรุกรานจากภายนอกได้สภาพภูมิประเทศของ
โบราณ นอกจากนี้ชาวเมโสโปเตเมียยังรู้จักการสร้างอุโมงค์น้ าใต้ดินเพื่อส่งน้ ามาใช้ในเมืองหลวงได้อีกด้วย ลุ่มแม่น้ าไนล์ก่อนที่จะรวมเป็นปึกแผ่น ได้แบ่งออกเป็นบริเวณลุ่มน้ าออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ความเจริญของคนในดินแดนเมโสโปเตเมีย ยังได้แพร่หลายไปสู่ดินแดนใกล้เคียงและมีอิทธิพลต่ออารยธรรม ส่วนที่เป็นบริเวณอียิปต์ล่าง อยู่บริเวณที่ราบลุ่มปากแม่น้ าไนล์ ซึ่งเป็นบริเวณที่แม่น้ าไนล์
อียิปต์ กรีกและโรมันในเวลาต่อมา แยกเป็นแม่น้ าสาขาที่มีลักษณะเป็นรูปพัด แล้วไหลลงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ชาวกรีกโบราณ
เรียก บริเวณนี้ว่า เดลตา 10