Page 26 - ชดการสอน ประวัติศาสตร์สากล
P. 26
2. สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ โดยชนเผ่าอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่น ระบุหน้าที่ของกษัตริย์ ในด้านกฎหมาย มีพระธรรมศาสตร์และต่อมามีการเขียนพระธรรมนูญ
ฐานบริเวณแม่น้ าคงคา แบ่งได้ 3 ยุค ธรรมศาสตร์ขึ้น
2.1 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่ก าเนิดตัวอักษรพรามิ ลิปิ สิ้นสุดสมัยราชวงศ์ คุปตะ ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป็นยุคที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธศาสนา ได้ถือก าเนิดแล้ว ในลุ่มน้ าสินธุ กลุ่มชนที่อาศัยในระยะแรกคือพวกดราวิเดียนซึ่งมีโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วย
2.2 ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง จนถึง ราชวงศ์โมกุลเข้าปกครอง ผู้ปกครอง ได้แก่ ราชาและขุนนาง แต่เมื่อพวกอารยันเข้ามาปกครองท าให้มีการเปลี่ยนแปลงทาง
อินเดีย สังคม กล่าวคือฝ่ายดราวิเดียนถูกลดฐานะลงเป็นทาส ความสัมพันธ์ของคนในสังคมระยะแรกมี
2.3 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์โมกุลจนถึงการได้รับเอกราชจากอังกฤษ การแต่งงานระหว่างชนสองเผ่าพันธุ์ แต่ต่อมาพวกอารยันเกรงว่าจะถูกกลืนทางเชื้อชาติ จึงห้ามการ
การปกครองและกฎหมาย แต่งงานระหว่างชนสองกลุ่ม ท าให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างเผ่าพันธุ์ จนกลายเป็นระบบชนชั้นที่แบ่ง
บ้านเมืองในลุ่มน้ าสินธุมีร่องรอยของการปกครองแบบรวมอ านาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทั้งนี้เห็นได้จาก หน้าที่ชัดเจนโดยแบ่งออกเป็น 4 วรรณะใหญ่ๆ คือ วรรณะพราหมณ์ ผู้ประกอบพิธีกรรมและสืบ
รูปแบบการสร้างเมืองฮารัปปาและเมืองโมเฮนโจ – ดาโร ที่มีการวางผังเมืองในลักษณะเดียวกัน สานต่อศาสนา วรรณะกษัตริย์ มีหน้าที่ปกป้องแว่นแคว้น วรรณะแพศย์ มีหน้าที่ผลิตอาหารและ
มีการตัดถนนเป็นระเบียบ การสร้างบ้านใช้อิฐขนาดเดียวกัน ตัวเมืองมักสร้างอยู่ในป้อมซึ่งต้องมี หารายได้ให้แก่บ้านเมือง และวรรณะศูทร คือคนพื้นเมืองดั้งเดิมที่มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้งสาม ส่วน
ผู้น าที่มีอ านาจแบบรวมศูนย์ ผู้น ามีสถานภาพเป็นทั้งกษัตริย์และเป็นนักบวชจึงมีอ านาจทั้งทาง ลูกที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะถูกจัดให้อยู่นอกสังคม เรียกว่า พวกจัณฑาล นอกจากนี้ใน
โลกและทางธรรม ต่อมาเมื่อพวกอารยันเข้ามาปกครองดินแดนลุ่มน้ าสินธุแทนพวกดราวิเดียน จึง หมู่ชาวอารยัน สตรีมีฐานะสูงในสังคมและใช้โคเป็นเครื่องวัดความมั่งคั่งของบุคคล
ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบกระจายอ านาจ โดยแต่ละเผ่ามีหัวหน้าที่เรียกว่า “ราชา” ด้านศาสนา อินเดียเป็นแหล่งก าเนิดศาสนาส าคัญของโลกตะวันออก ได้แก่
ปกครองกันเอง มีหน่วยการปกครองลดหลั่นลงไปตามล าดับ จากครอบครัวที่มีบิดาเป็นหัวหน้า 1. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีเทพเจ้าที่ส าคัญ เช่น พระศิวะ เป็นเทพผู้ท าลายความชั่วร้าย พระ
ครอบครัว หลายครอบครัวรวมเป็นระดับหมู่บ้าน และหลายหมู่บ้านมีราชาเป็นหัวหน้า ต่อมาแต่ละ พรหม เป็นเทพเจ้าผู้สร้างสรรพสิ่งบนโลก พระวิษณุ เป็นเทพเจ้าแห่งสันติสุขและปราบปรามความ
เผ่ามีการพุ่งรบกันเอง ท าให้ราชาได้ขึ้นมามีอ านาจสูงสุดในการปกครองด้วยวิธีต่างๆ เช่น พิธี ยุ่งยาก เป็นต้น
ราชาภิเษก ความเชื่อในเรื่องอวตารพิธีอัศวเมธ เป็นพิธีขยายอ านาจโดยส่งม้าวิ่งไปยังดินแดน 2. พระพุทธศาสนา มีหลักค าสอนที่ส าคัญ เช่น อริยสัจ 4 มีจุดหมายเพื่อมุ่งสู่นิพพาน
ต่างๆ จากนั้นจึงส่งกองทัพติดตามไปรบเพื่อยึดครองดินแดนที่ม้าวิ่งผ่านไป การตั้งชื่อเพื่อสร้าง 3. ศาสนาเชน มีศาสดา คือ มหาวีระ มีนิกายที่ส าคัญอยู่ 2 นิกาย คือ นิกายเศวตัมพร เป็น
ความยิ่งใหญ่ ค าสอนในคัมภีร์ศาสนาและต าราสนับสนุนความยิ่งใหญ่ของราชา และต่อมาก็มีคติ นิกายนุ่งผ้าขาว ถือว่าสีขาวเป็นสีบริสุทธิ์ และนิกายทิฆัมพร เป็นนิกายนุ่งลมห่มฟ้า (เปลือยกาย)
ความเชื่อว่า ราชาทรงเป็นสมมติเทพ คือ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพอวตารลงมาเพื่อปกครอง 22
มวลมนุษย์ในด้านการปกครองมีการเขียนต าราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ชื่อ อรรถศาสตร์