Page 40 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 40

33



                         การชวยเหลือ

                         ใชหลักการชวยเหลือแบบพฤติกรรมบําบัด ดังนี้
                         1.  การจัดการสิ่งแวดลอม กําจัดสิ่งกระตุนเดิมที่ไมเหมาะสมใหหมด หากิจกรรมทดแทนเบี่ยงเบน

                  ความสนใจ อยาใหเด็กเหงาอยูคนเดียวตามลําพัง ปรับเปลี่ยนทัศนคติทางเพศในครอบครัว ใหเห็นวาเรื่อง

                  เพศไมใชเรื่องตองหาม สามารถพูดคุย เรียนรูได พอแมควรสอนเรื่องเพศกับลูก

                         2.  ฝกการรูตัวเองและควบคุมตนเองทางเพศ ใหรูวามีอารมณเพศเมื่อใด โดยสิ่งกระตุนใด พยายาม
                  หามใจตนเองที่จะใชสิ่งกระตุนเดิมที่ผิดธรรมชาติ

                         3.  ฝกการสรางอารมณเพศกับตัวกระตุนตามปกติ เชน รูปโป – เปลือย แนะนําการสําเร็จความใคร

                  ที่ถูกตอง
                         4.  บันทึกพฤติกรรมเมื่อยังไมสามารถหยุดพฤติกรรมได สังเกตความถี่หาง เหตุกระตุน การยับยั้ง

                  ใจตนเอง ใหรางวัลตนเองเมื่อพฤติกรรมลดลง

                         การปองกัน การใหความรูเรื่องเพศที่ถูกตองตั้งแตเด็ก ดวยทัศนคติที่ดี

                         6.  เพศสัมพันธในวัยรุน
                         ลักษณะปญหา มีพฤติกรรมทางเพศตอกันอยางไมเหมาะสม มีเพศสัมพันธกันกอนวัยอันควร

                         สาเหตุ

                         1.  เด็กขาดความรักความอบอุนใจจากครอบครัว

                         2.  เด็กขาดความรูสึกคุณคาตนเอง ไมประสบความสําเร็จดานการเรียน แสวงหาการยอมรับ หา
                  ความสุขและความพึงพอใจจากแฟน เพศสัมพันธ และกิจกรรมที่มีความเสี่ยงตางๆ

                         3.  เด็กขาดความรูและความเขาใจทางเพศ ความตระหนักตอปญหาที่ตามมาหลังการมีเพศสัมพันธ

                  การปองกันตัวของเด็ก ขาดทักษะในการปองกันตนเองเรื่องเพศ ขาดทักษะในการจัดการกับอารมณทางเพศ
                         4.  ความรูและทัศนคติทางเพศของพอแมที่ไมเขาใจ ปดกั้นการอธิบายโรคที่เพศ ทําใหเด็กแสวงหา

                  เองจากเพื่อน

                         5.  อิทธิพลจากกลุมเพื่อน รับรูทัศนคติที่ไมควบคุมเรื่องเพศ เห็นวาการมีเพศสัมพันธเปนเรื่อง

                  ธรรมดา ไมเกิดปญหาหรือความเสี่ยง
                         6.  มีการกระตุนทางเพศ ไดแก ตัวอยางจากพอแม ภายในครอบครัว เพื่อน สื่อยั่วยุทางเพศตางๆ ที่

                  เปนแบบอยางไมดีทางเพศ

                         การปองกัน
                         การปองกันการมีเพศสัมพันธในวัยรุน แบงเปนระดับตางๆ ดังนี้

                         1.  การปองกันระดับตน กอนเกิดปญหา ไดแก ลดปจจัยเสี่ยงตางๆ การเลี้ยงดูโดยครอบครัว สราง

                  ความรักความอบอุนในบาน สรางคุณคาในตัวเอง ใหความรูและทัศนคติทางเพศที่ดี มีแบบอยางที่ดี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45