Page 62 - รายงานสำรวจและจัดทำแผนผังถ้ำ เขตอุทยานแห่งชาติภาคใต้
P. 62

54




                              แนวทางในการบริหารจัดการแหล่ง : แหล่งนี้มีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหาร
               จัดการอยู่ในระดับปานกลางสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับจังหวัดได้ แหล่งเรียนรู้เรื่องถำ ควรมี
                                                                                               ้
               ป้ายข้อควรปฏิบัติในการเที่ยวถ้ำ ควรมีแผ่นพับแสดงแผนผังภายในถ้ำและลักษณะการเกิดของถ้ำ รวมถึง
               การเกิดประติมากรรมถำ เช่น หินย้อยย้อนแสง ม่านหินย้อย หินย้อย เสาหิน ทำนบหินปูน และหินน้ำไหล
                                   ้
               เป็นต้น










                                                       (ก)                                        (ข)









                                                       (ค)                                        (ง)










                                                       (จ)                                        (ฉ)

               รูปที่ 3.25 ประติมากรรมถ้ำภายในถ้ำนาค อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
                       (ก) ลักษณะปากถ้ำที่ถ่ายจากในถ้ำย้อนออกไปยังปากถ้ำ หรือเรียกว่า ลายเซ็นถ้ำนาค

                       (ข) หินย้อย และกองหินถล่มจากหลุมยุบ ด้านซ้ายหน้าต่างถ้ำบริเวณ A2
                       (ค) หลุมยุบ ผนังด้านขวาบริเวณระหว่าง A6-A7
                       (ง) เสาหิน หินย้อย ม่านหินย้อย ชั้นหอยโบราณ และพื้นถ้ำทรุดตัว บริเวณระหว่าง A5-1-A5-2
                       (จ) หินย้อย เสาหิน ม่านหินย้อย หินงอก และtension crack บริเวณ A2

                       (ฉ) ภาพเขียนสีโบราณ ผนังถ้ำบริเวณ C3
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67