Page 167 - Bella
P. 167

162.











                     การตรวจสอบอีกลักษณะหนึ่ง คือการตรวจสอบหาขั้วหรือเฟสของล าโพง

          โดยปกติที่ขั้วต่อล าโพงจะมีการคาดสีแดง-ด า หรือแสดงเป็นบวก-ลบ เพื่อให้ต่อกับขั้ว
          เครื่องขยายเสียงได้อย่างถูกต้อง แต่ถ้าขัวลบเลื่อนเราสามารถตรวจหาขั้วได้โดยมัลติ
          มิเตอร์ ตั้งย่านวัด X 1 แล้วเขี่ยที่ขั้วล าโพง จากนั้นสั่งเกตว่าถ้าชั่วต่อถูกต้องในช่วงต่อกับ

          มิเตอร์ กรวยล าโพงจะต้องกระพือออกมาและการก าหนดขั้วคือ ขั้วบวกจะต่อกับสายวัด
          สีด า และขั้วลบจะต่อกับสายวัดสีแดง (เพราะปกติมัลติมิเตอร์ทั่วไปที่ใช้กันมักต่อ

          แบตเตอรี่ภายในกลับขั้วกับชั้วต่อสายมิเตอร์) หรือถ้าไม่มีมิเตอร์เราอาจใช้ถ่านไฟฉายต่อ
          ทดสอบก็ได้โดยถ้าต่อถูกต้องตามขั้ว กรวยล้าโพงจะผลักตัวออกแต่ถ้าขั้วไม่ถูกต้องกรวย
          ส าโพงจะถูกดึงเข้า



          การติดตั้งและต่อใช้งาน

                     การต่อล้าโพง ต้องดูที่ขั้วอิมพีแดนซ์ของเครื่องขยายเสียงว่ามีค่ากี่โอห์ม
          จะต้องเลือกใช้หรือต่อล าโพงให้มีค่าตรงกัน เช่นถ้าที่ขั้วต่อเครื่องเสียงเขียนว่า 8 โอห์ม ก็
          ควรต่อเข้ากับล าโพงที่มีขนาด 8 โอห์มเช่นเดียวกัน เพื่อให้มีการโอนถ่ายพลังงานได้

          สูงสุด แต่ถ้าไม่มีล าโพง 8 โอห์ม ก็อาจใช้ล าโพง 4 โอห์ม 2 ตัวต่ออนุกรมกัน เช่น
          เดียวกับการต่อความต้านทานก็ได้ และในท านองเดียวกันถ้าขั้วต่อที่เครื่องเสียงเขียนว่า

          4 โอห์ม ก็ควรต่อเข้ากับล าโพงที่มีขนาด 4 โอห์มถ้ามีแต่ล าโพง 8 โอห์ม ก็อาจใช้ล าโพง
          8 โอห์ม 2 ตัวต่อขนานกันแทน



          ข้อควรระวังในการต่อใช้งาน
                     1. ควรเลือกล าโพงให้เหมาะสมกับงาน

                     2. ควรใช้ล าโพงที่มีขนาดก าลังวัดต์เหมาะสมกับเครื่องขยายเสียง
                     3. ควรต่อล าโพงให้มีขนาดของอิมพีแดนซ์ตรงกับค่าอิมพีแดนซ์ของเครื่อง
          เสียง

                     4. ควรต่อล าโพงให้ตรงเฟสกับขั้วเครื่องเสียง
                     5. ไม่ควรใช้ล าโพงฟังเพลงที่คุณภาพดีๆ มาใช้กับการพูดผ่านไมโครโฟน

          เพราะอาจท าให้ล าโพงเสียหายได้
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172