Page 172 - Bella
P. 172

167.












          สาธกึ่งตัวน า ชนิด P และ ชนิด N

                     สารที่งตัวน้ าบริสุทธิ์ (Intrinsic Semiconductor)  จะมีสภาพการน าไฟฟ้าที่
          ไม่ดีเพราะอิเล็กตรอนวงนอกจะจับตัวรวมกัน โดยใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเพื่อให้เกิดภาวะ

          เสถียร เสมือนมีอิเล็กตรอนวงนอก 8 ตัว จึงไม่เหมาะต่อการใช้งาน ดังนั้นในทางปฏิบัติ

          จึงมีการเดิมสารอื่นเข้าไปเพื่อให้เกิดสภาพน าไฟฟ้าที่ดีกว่าเดิม เหมาะกับการใช้งานโดย

          การเติมสารหรือที่เรียกกันทับศัพท์ว่า การโดป (Doping) สารนั้น จะมีได้ 2 ลักษณะ คือ
                     1. เดิมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 3 ตัว เช่น อะลูมิเนียม หรือแกลเลียมลงไป

          ท าให้เกิดสภาวะขาดอิเล็กตรอน คือจะมีที่ว่างของอิเล็กตรอนซึ่งเรียกว่า โฮล (Hole)

          มากกว่าจ านวนอิเล็กตรอนอิสระด้วยเหตุที่โฮลมีสภาพเป็นประจุไฟฟ้าบวก และเป็น
          พาหะส่วนใหญ่ของสาร ส่วนอิเล็กตรอนจะเป็นพาหะส่วนน้อย เราจึงเรียกสารกึ่งตัวน า

          ประเภทนี้ว่าสารกึ่งตัวน า ชนิด P (P-type Semiconductor)

                     2.เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 5 ตัว เช่น สารหนู หรือฟอสฟอรัสลงไป ท า
          ให้เกิดสภาวะมีอิเล็กตรอนอิสระมากกว่าจ านวนของโฮล ด้วยเหตุที่อิเล็กตรอนมีประจุ

          ไฟฟ้าสบและเป็นพาหะส่วนใหญ่ ส่วนโฮลเป็นพาหะส่วนน้อยของสารเราจึงเรียกว่าเป็น

          สารกึ่งตัวน าชนิด N (N-type Semiconductor)



















                               รูปที่ 12.2 แสดงสารกึ่งตัวน าชนิด P และ ชนิด N
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177