Page 133 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 133

128   วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


        มีการปรับเปลี่ยนไปเช่นเดียวกันในกระแสสังคม วิถีการรับประทานโกปี๊จึงเป็นทั้ง
        วัฒนธรรมที่คนในสังคมเมืองตรังยอมรับ ทั้งแง่ของคุณค่าทางจิตใจอันสะท้อน
        วัฒนธรรมของการรักพวกพ้อง รักการเข้าสังคมของคนเมืองตรัง และยังเป็นรูปแบบ

        วิถีทางแห่งการแสดงตัวตนทางสังคมของคนเมืองตรังที่ยังคงมีมาตั้งแต่อดีตจนถึง
        ปัจจุบันและเป็นฟันเฟืองส าคัญที่ช่วยขับเคลื่อนพัฒนาสร้างสรรค์สังคมเมืองตรังใน

        อนาคต

        ข้อเสนอแนะ

               1. ข้อมูลของงานวิจัยข้างต้นสามารถที่จะน าข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยน าไปต่อ
        ยอดการพัฒนาประชาคมผ่านการใช้สายสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมผ่านพื้นที่ร้านโกปี๊

               2.  เป็นแนวทางเพื่อมุ่งพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งช่วยกระตุ้นการมีส่วน
        ร่วมของคนในชุมชนต่อการแก้ไขปัญหาของคนในชุมชน
               3.  สามารถจัดกิจกรรมเพื่อช่วยสนับสนุนความสามัคคีของคนในชุมชน

        พัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนท่ามกลางการขยายตัวของชุมชนเมือง


        เอกสารอ้างอิง
        กนกวรรณ บุญคง. (2558). ร้านโกปี๊ C ถนนตลาด ต าบลทับเที่ยง อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง
               [สัมภาษณ์]. 2558, มิถุนายน 16.

        การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). 12 เมืองต้องห้าม...พลาด : ตรังยุทธจักร
               ความอร่อย. อนุสาร อสท., ปีท่องเที่ยววิถีไทย 2558. (ฉบับพิเศษ), 26.

        ขาว เพชรสี. (2558). ร้านโกปี๊ C ถนนห้วยยอด ต าบลทับเที่ยง อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง
               [สัมภาษณ์]. 2558, มิถุนายน 14.

        ขิ้ม วงศ์น้อย. (2557). ร้านโกปี๊ B ถนนห้วยยอด ต าบลทับเที่ยง อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง
               [สัมภาษณ์]. 2557, ธันวาคม 5.
        จินตนา พลรบ. (2559).  ร้านโกปี๊ A ถนนเพชรเกษม ต าบลทับเที่ยง อ าเภอเมือง จังหวัด

               ตรัง [สัมภาษณ์]. 2559, มกราคม 19.




                           ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138