Page 14 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 14

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต  9


                     2.  แบบวัดเจตคติที่มีต่อการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ปรับจาก
             แบบวัดทัศนคติต่อการประเมินการเรียนรู้ของกฤติยา วงศ์ก้อม (2547)  มีลักษณะ
             เป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5  ระดับจ านวน 15  ข้อ ตรวจสอบคุณภาพ

             ของแบบวัดเจตคติด้านความตรงตามเนื้อหาโดยใช้ดัชนี  IOC  เท่ากับ .80-1.00  มีค่า
             อ านาจจ าแนกซึ่งค านวณจากสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนน

             รวมของข้อที่เหลือเท่ากับ .52-.85 มีค่าความเที่ยงเชิงความสอดคล้องภายในจากสูตร
             แอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .96
                     3.  แบบวัดทักษะการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีลักษณะเป็นเกณฑ์

             การให้คะแนนแบบรูบริค 3  ระดับ ครอบคลุม 5  องค์ประกอบ ได้แก่ 1)  การก าหนด
             จุดประสงค์การเรียนรู้และสิ่งที่จะประเมิน 2)  การก าหนดภาระงานตามสภาพจริง

             3) การก าหนดวิธีการประเมินและผู้ประเมิน 4) การประเมินระหว่างการจัดการเรียนรู้
             และ 5) การน าเสนอผลการประเมินและการน าผลการประเมินไปใช้ ตรวจสอบคุณภาพ

             ของแบบวัดความรู้ด้านความตรงตามเนื้อหาโดยใช้ดัชนี IOC เท่ากับ .80-1.00 จากนั้น
             ได้น าไปทดลองใช้กับนิสิตภาคพิเศษของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล

             สงครามที่เรียนการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงมาแล้ว โดยมอบหมายงาน
             ออกแบบการประเมินการเรียนรู้ให้ท าจ านวน 20 คน มีค่าความเที่ยงเชิงความสอดคล้อง
             ภายในจากสูตรแอลฟ่ าของครอนบาคเท่ากับ .88  มีค่าความเที่ยงของ

             การตรวจให้คะแนนระหว่างผู้ประเมิน 2  คน ซึ่งค านวณจากสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
             สัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .89

                     4. แบบวัดคุณภาพการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีลักษณะเป็นมาตร
             ประมาณค่า 5 ระดับ  จ านวน  16 ข้อ  โดยประเมินใน 4 มิติ ตามมาตรฐานการประเมิน
             ที่พัฒนาโดย Stufflebeam  &  others  (1981)  ได้แก่ 1)  ประโยชน์จากการประเมิน

             2) ความเป็นไปได้ในการประเมิน 3) ความเหมาะสม และ 4) ความถูกต้อง ตรวจสอบ
             คุณภาพของแบบประเมินด้านความตรงตามเนื้อหาโดยใช้ดัชนี  IOC  มีค่าอยู่ระหว่าง

             .80-1.00 จากนั้นได้น าไปทดลองใช้กับนิสิตภาคพิเศษของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
             ราชภัฏพิบูลสงครามที่เรียนการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงมาแล้วโดยมอบหมาย



                                 ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19