Page 207 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 207
202 วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม
(Questionnaire) ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการศึกษาเอกสาร รายงานการวิจัยต่างๆ และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเนื้อหาครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ โดยผู้วิจัยได้ออกแบบให้
แบบสอบถามมีแบ่ง 4 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงาน ซึ่งเป็น
ผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นค าถามเลือกตอบเพื่อถามข้อมูล เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา ระยะเวลาในการท างาน อัตราเงินเดือน ลักษณะค าถามเป็นแบบตรวจสอบ
รายการ (Checklist) จ านวน 5 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามการบริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยลักษณะของ
แบบสอบถามจะแบ่งตามการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 5 ด้าน ได้แก่การสรรหา การคัดเลือก
การฝึกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และค่าตอบแทนและสิทธิ
ประโยชน์ ด้านละ 4 ข้อ เป็นค าถามแบบปลายปิด จ านวน 20 ข้อ ใช้แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) ของลิเคิร์ท (1961) แบ่งระดับการวัดเป็น 5 ระดับ โดย
ก าหนดค่าคะแนน ดังนี้
คะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด
คะแนน 4 หมายถึง มาก
คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง น้อย
คะแนน 1 หมายถึง น้อยที่สุด
ส าหรับแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale) 5 ระดับ ใช้เกณฑ์การ
แปลผลในการแบ่งระดับคะแนนเฉลี่ย (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2544) ดังนี้
ค่าเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับความคิดเห็นต่อการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์มากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง ระดับความคิดเห็นต่อการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์มาก
ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560