Page 298 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 298

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต  293


             ให้ก้าวไปอยู่ ในสังคมและโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             จากความส าคัญของ การศึกษาดังกล่าว ทุกประเทศจึงต่างเร่งพัฒนาการศึกษา
             ให้มีมาตรฐาน และเกิดคุณภาพสูงสุดเพื่อให้ บุคลากรได้น าพาประเทศชาติให้เกิด

             ความแข็งแกร่งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอย่าง ถาวรตลอดไป
                     พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2)

             พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 ได้ก าหนดสาระส าคัญให้กระทรวงศึกษาธิการ
             กระจายอ านาจการบริหารและการจัดการศึกษา  ทั้งด้านวิชาการ  งบประมาณ
             การบริหารงานบุคคล  และการบริหารทั่วไป  ไปยังคณะกรรมการ  สานักงานเขตพื้นที่

             การศึกษา และสถานศึกษาโดยตรง เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทย
             ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสามารถ และอยู่ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข

             (กระทรวงศึกษาธิการ, 2555 : 1)ดังนั้นการบริหารและการจัดการศึกษาในปัจจุบันอยู่
             ในความรับผิดชอบของหน่วยงานหลัก  ผู้บริหารจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง

             การบริหารสถานศึกษา  กล่าวคือ  ต้องทราบขอบข่ายและภารกิจการบริหารและ
             การจัดการสถานศึกษา 4 งาน คือ 1) การบริหารวิชาการ 2) การบริหารงบประมาณ

             3)  การบริหารงานบุคคล  4)  การบริหารทั่วไป  ซึ่งงานวิชาการเป็นหัวใจส าคัญในการ
             จัดการศึกษาในระดับสถานศึกษา การบริหารงานวิชาการ เป็นกระบวน การดาเนินงาน
             เกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามที่ก าหนดไว้

             ในจุดมุ่งหมายของการพัฒนาผู้เรียน  (กระทรวงศึกษา,  2551  :  3)  การบริหารงาน
             วิชาการ  ถือว่าเป็นหัวใจของการบริหารสถานศึกษา  ทั้งนี้เพราะจุดมุ่งหมายของ

             สถานศึกษา คือ การจัดการศึกษา คุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา จึงอยู่ที่งาน
             ด้านวิชาการ ซึ่งจะประกอบด้วยงานด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การจัด
             บุคลากรที่เกี่ยวข้อง  การจัดสิ่งส่งเสริมงานด้านวิชาการ  รวมถึงงานด้านการวัดและ

             ประเมินผล  ขั้นตอนการดาเนินงานด้านวิชาการ  จะมีขั้นการวางแผนด้านวิชาการ
             ขั้นการจัดและดาเนินการ และขั้นส่งเสริมและติดตามผลด้านวิชาการ  (ปรียาพร  วงศ์

             อนุตรโรจน์,  2553  :  7) มีประสิทธิภาพกระทรวงศึกษาธิการได้จ าแนกงาน
             ในการบริหารงานวิชาการออกเป็น  12  ด้าน  คือ  1)  การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา



                                 ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303